กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา


“ ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปัจจัยการเกิดโรค ”

ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐิติวรรณศรีสวัสดิ์

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปัจจัยการเกิดโรค

ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1513-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปัจจัยการเกิดโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปัจจัยการเกิดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปัจจัยการเกิดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1513-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ประชาชนเริ่มมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปจากสังคมชนบทเริ่มเข้าสู่สังคมเมืองมากยิ่งขึ้น ทำให้ประชาชนได้รับความสะดวกสบายจากสิ่งของที่ใช้ภายในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะเป็นอาหาร ที่มากับบรรจุภัณฑ์ที่สะดวก ไม่ยุ่งยากในการรับประทาน หรือ ถุงพลาสติกที่ใช้ในการบรรจุของ ส่งผลให้มีขยะตกค้าง เป็นจำนวนในแต่ละวันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรก ไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหนะนำโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำแหล่งน้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็น สาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ และเกิดก๊าช มีเทนจากการฝังกลบขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม อาจก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน (Global Warmming) ซึ่งภายในพื้นที่ตำบลควนเมา ได้จัดให้มีการรณรงค์ให้ประชาชนหันมาตระหนักถึงปัญหาเกี่ยวกับขยะ จึงก่อให้เกิดมาตรการ ขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้เกิดการกำจัดขยะให้น้อยที่สุด โดยรณรงค์ให้หันมาใช้วัสดุที่มีการย่อยสลายง่าย
ดังนั้น เพื่อให้เกิดการจัดการขยะและการปรับปรุงสุขาภิบาลที่พักอาศัยที่ดียิ่งขึ้น ทาง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “การส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชน” เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะภายในครัวเรือนการรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในหมู่บ้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะภายในครัวเรือน 2. เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ทำให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะมากยิ่งขึ้น
    2. ทำให้ประชาชนเกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและลดปริมาณขยะภายในชุมชนได้
    3. ทำให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะมากยิ่งขึ้น สามารถแยกขยะภายในครัวเรือน และเปลี่ยนเป็นรายได้ให้กับครัวเรือน เกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและลดปริมาณขยะภายในชุมชนได้ ทำให้ภายในชุมชนมีผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อลดน้อยลงเป็นการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขภายในพื้นที่ได้โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน รายละเอียดค่าใช้จ่าย - ค่าสมนาคุณวิทยากร    จำนวน  2,400 บาท - ค่าป้ายไวนิล              จำนวน  1,350 บาท - ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม  เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าวัสดุ (แฟ้ม+ปากกา)  จำนวน 450 บาท - ค่าถ่ายเอกสาร  จำนวน 1,620 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะภายในครัวเรือน 2. เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะภายในครัวเรือน
    2. เพื่อรณรงค์และขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะโดยชุมชนเพื่อลดปัจจัยการเกิดโรค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1513-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฐิติวรรณศรีสวัสดิ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด