กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ คลองรีรุ่นใหม่ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายแซลซูดิง ไมแยนา

ชื่อโครงการ คลองรีรุ่นใหม่ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3065-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"คลองรีรุ่นใหม่ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คลองรีรุ่นใหม่ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " คลองรีรุ่นใหม่ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3065-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านคลองรี หมู่ที่ 1 ตำบลตุยง อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง พื้นที่ส่วนใหญ่ติดลำคลองบางตาวา ซึ่งเชื่อมต่อทะเล ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ด้วยความที่ว่าทรัพยากรน้อยลงประชากรเพิ่มขึ้น วิถีชีวิตเปลี่ยนหลายครัวเรือนต้องเปลี่ยนอาชีพไปทำงานต่างแดนบ้าง ทำงานรับจ้างในเมืองความเป็นอยู่ของประชาชนในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากเดิม จากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในชีวิตประจำวันเป็นปัจจัยหลักในการใช้ชีวิตของคนส่วนมาก สัมพันธภาพในครอบครัว ความอบอุ่น ขาดหายไปโดยไม่รู้ตัว ลืมในเรื่องของการดูแลสุขภาพ การการแพร่ระบาดของยาเสพติดในหมู่เยาวชน เด็กๆเยาวชนมีการบริโภคอาหารที่ผิดหลัก มีปัญหาในเรื่องของน้ำหนักมาก อ้วน ติดเกมส์ออนไลน์ในโทรศัพท์ ติดยูทูป เป็นต้น นอกจากนั้นจากข้อมูลการคัดกรองของอสม.อัตราการเกิดโรคเรื้อรังสูงขึ้น สิ่งเหล่านี้คือตัวอย่างของปัญหาในหลายๆมิติที่เกิดขึ้นในพื้นที่
    ปัญหาดังกล่าวข้างต้น เป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วม ต้องช่วยกันป้องกันและแก้ไข ทางชมรมคนรักกีฬา หมู่ที่ 1 บ้านคลองรี เห็นควรว่าการป้องกันปัญหาข้างต้นต้องแก้และป้องกันตั้งแต่กลุ่มเป้าหมายที่ยังเป็นเด็กวัยเรียน เพื่อจะได้เพาะองค์ความรู้ ทัศนคติ และปลูกจิตสำนึกที่ดีตั้งแต่เยาว์วัย มองเห็นว่าในขณะนี้เด็กในพื้นที่มีภาวะเสี่ยงอ้วนสูง เนื่องจากกินขนมประเภทแป้ง น้ำตาล เยอะ เด็กขาดทักษะชีวิตเนื่องจากสิ่งอำนวยความสะดวกที่พ่อแม่หาให้ เด็กมีความก้าวร้าว โลกส่วนตัวสูง เนื่องจากสื่อต่างๆเช่น ติดเกมส์ ยูทูปต่างๆ เป็นต้น     จากเหตุผลดังกล่าวทางชมรมคนรักกีฬา หมู่ที่ 1 บ้านคลองรี มองเห็นว่าถ้าได้มีการส่งเสริมจัดกิจกรรมให้เด็กๆได้มาร่วมทำกิจกรรมกลุ่มน่าจะเป็นสิ่งที่ดี จึงได้จัดทำโครงการของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มีความรู้ และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน
  2. เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่
  2. จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “อยู่อย่างไรกับวัยเรียน เพื่อสุขภาพอันพึงประสงค์”
  3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่     3. จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “อยู่อย่างไรกับวัยเรียน เพื่อสุขภาพอันพึงประสงค์”     4. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น     5. สรุปผลการดำเนินงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่

วันที่ 12 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมและวางแผนเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 40 คน

 

40 0

2. จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “อยู่อย่างไรกับวัยเรียน เพื่อสุขภาพอันพึงประสงค์”

วันที่ 20 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้รับรับความรู้ และเติบโตอย่างมีคุณภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 70 คน

 

70 0

3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น

วันที่ 27 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กและเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีการส่งเสริมและปลูกฝังในเรื่องของกิจกรรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มีความรู้ และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน
80.00 100.00

 

2 เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง
95.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มีความรู้ และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน (2) เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่ (2) จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “อยู่อย่างไรกับวัยเรียน เพื่อสุขภาพอันพึงประสงค์” (3) จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คลองรีรุ่นใหม่ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3065-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแซลซูดิง ไมแยนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด