กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ


“ โครงการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษและปลูกผักสมุนไพรพื่อส่งเสริมสุขภาพ ”

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางลักขณา หมัดอาดัม ประธาน อสม.ชุมชนบ้านคลองผ่าน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษและปลูกผักสมุนไพรพื่อส่งเสริมสุขภาพ

ที่อยู่ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษและปลูกผักสมุนไพรพื่อส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองแงะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษและปลูกผักสมุนไพรพื่อส่งเสริมสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ส่งเสริมให้มีความรู้การรับประทานและการปลูกผักปลอดสารพิษ (2) จัดให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน (3) สร้างแกนนำสุขภาพด้านเกษตรสุขภาพ (4) เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน (5) เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม อสม.คณะกรรมการชุมชน (2) จัดทำใสมัคร และจัดทำป้ายไวนิลโครงการ (3) จัดซื้อล้อยางสำหรับให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ (4) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ การเตรียมดิน การใช้ป๋ยและการปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) พื้นที่ชุมชนบ้านคลองผ่านเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำ มีปัญหาเรื่องน้ำท่วมทุกปี เมื่อถึงฤดูฝน จะทำให้เสี่ยงต่อน้ำท่วม ดังนั้น การใช้ล้อยางในปลูกผักทำให้ประชาชนปลูกผักได้ทั้งปี

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่ รวมทั้งการมารักษาในโรงพยาลาส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะมีสถิติเพิ่มขึ้นทุกปี และอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่มสูงขึ้น โรพยาบาลต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ รพ. ซึ่งเป็นภาระที่รัฐจะต้องสูญเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นจำนวนมากแต่เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปนเปื้อน ผักผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรการผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านี้ตกค้าง ผู้บริโภคได้รับสารเคมีเหล่านั้นยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชานและการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเอง เป็นหนทางหนึ่่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง ชุมชนบ้านคลองผ่าน ซึ่งเป็นชุมชนกึ่งชนบทและชาวชุมชนบางส่วนยังมีการซื้อผักจากตลาดมารับประทานอยู่ ดังนั้น อสม.ชุมชนบ้านคลองผ่านได้มองเห็นและตระหนักในปัญหานี้จึงได้ร่วมกันเสนอโครงการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษและปลูกผักสมุนไพรเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ส่งเสริมให้มีความรู้การรับประทานและการปลูกผักปลอดสารพิษ
  2. จัดให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
  3. สร้างแกนนำสุขภาพด้านเกษตรสุขภาพ
  4. เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
  5. เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม อสม.คณะกรรมการชุมชน
  2. จัดทำใสมัคร และจัดทำป้ายไวนิลโครงการ
  3. จัดซื้อล้อยางสำหรับให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ
  4. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ การเตรียมดิน การใช้ป๋ยและการปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชนบ้านคลองผ่านที่เข้าร่วมได้รับผักปลอดสารพิษ 2.เกิดแกนนำสุขภาพด้านเกษตรสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม อสม.คณะกรรมการชุมชน

วันที่ 20 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม อสม. คณะกรรมการชุมชน เตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผุู้เข้าร่วมประชุมจำนวน  23 คน การจัดกิจกรรมอบรมในวันที่ 22 มิถุนายน 2562

 

21 0

2. จัดทำใสมัคร และจัดทำป้ายไวนิลโครงการ

วันที่ 20 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำใบสมัตร ถ่ายเอกสารใบสมัคร  จัดทำป้ายไวนิล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดทำใบสมัครจำนวน 50 ชุด ทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1x3 เมตร จำนวน 1 ป้าย

 

0 0

3. จัดซื้อล้อยางสำหรับให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 20 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อล้อยางสำหรับปลูกผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ล้อยางรถยนตฺ์ที่มีการดัดแปลงในการปลูกผัก จำนวน  100 ล้อ

 

50 0

4. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ การเตรียมดิน การใช้ป๋ยและการปฏิบัติ

วันที่ 22 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้  สาธิต และปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คนมีการสาธิติ และปฏิบัติ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถนำความรู้ไปปฏิบ้ติได้ 2.เกิดการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 3.มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความผิดพลาดในการปลูกผัก มีการแบ่งปันพันธ์ุผัก 4.เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ส่งเสริมให้มีความรู้การรับประทานและการปลูกผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วม ร้อยละ 80 มีความรู้สามารถนำไปปฏิบัติได้
1.00

 

2 จัดให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการปลูกผักปลอดสารพิษร้อยละ 100
1.00

 

3 สร้างแกนนำสุขภาพด้านเกษตรสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เกิดแกนนำสุขภาพ
1.00

 

4 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น
40.00 50.00

 

5 เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
6.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ส่งเสริมให้มีความรู้การรับประทานและการปลูกผักปลอดสารพิษ (2) จัดให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน (3) สร้างแกนนำสุขภาพด้านเกษตรสุขภาพ (4) เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน (5) เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม อสม.คณะกรรมการชุมชน (2) จัดทำใสมัคร และจัดทำป้ายไวนิลโครงการ (3) จัดซื้อล้อยางสำหรับให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ (4) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ การเตรียมดิน การใช้ป๋ยและการปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) พื้นที่ชุมชนบ้านคลองผ่านเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำ มีปัญหาเรื่องน้ำท่วมทุกปี เมื่อถึงฤดูฝน จะทำให้เสี่ยงต่อน้ำท่วม ดังนั้น การใช้ล้อยางในปลูกผักทำให้ประชาชนปลูกผักได้ทั้งปี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษและปลูกผักสมุนไพรพื่อส่งเสริมสุขภาพ

ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1.เกิดแนวปลูกผักในพื้นที่จำกัด
2.แบ่งเวรในการดูแลและเยี่ยมตรวจแปลงผัก
3.การแลกเปลี่ยนผักเป็นของฝาก

ภาพถ่ายกิจกรรมและสรุปผลโครงการ

1.ขยายผลโดยนำคนที่ไม่มีอาชีพ ไม่ที่ทำกิน เข้าร่วมโครงการปลูกผักล้อยาง และดูแลด้วยตนเอง นำผักไปประกอบอาหารและสร้างรายได้เล็กๆน้อยๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

1.การปลูกผักสวนครัวในพื้นที่จำกัด ล้อยางรถยนต์

ภาพถ่ายกิจกรรมและสรุปผลโครงการ

1.การแปรรูปผักเป็นผงเพื่อแก้ปัญหาเด็กไม่กินผัก เช่น ผงจากผลบัตเตอร์นัต
2.บุฟเฟ่ผัก ตลาดปลอดสารพิษในชุมชน
3.แปรผักสมุนไพรเป็นหมอนสุขภาพ ซึ่งทำจากผักเสี้ยนผี ใบมะกรูดจากที่ปลูก ลดอาการปวดศีรษะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.กระบวนการมีส่วนร่วมแบ่งหน้าที่ดูแลผักและสมุนไพร 2.กระบวนการส่วนร่วมในการดูแล
3.นำผักที่ปลูกเป็นของฝากสุขภาพปลอดสารพิษ

 

1.นำกระบวนการเพื่อนช่วยเพื่อน สร้างความมั่นคงทางอาหาร ในบุคคลที่ไม่มีที่ทำกิน ไม่มีอาชีพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1จัดทีมวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักและสมุนไพร การเตรียมดิน 2.ปลูกผักในภาชนะขนาดเล็ก 3.สามารถจัดกิจกรรมบุพเฟ่ผัก ตลาดสีเขียวสร้างรายได้ให้กับผู้ที่เข้ามาปลูก

 

1.แบ่งแปลงให้บุคคลไม่มีที่ทำกิน ไม่มีอาชีพ เข้ามาปลูกผัก นำผักที่ปลูกไปรับประทานเอง 2.นำผักที่ปลูกไปแปรรูป เช่น ทำเป็นผงผัก 3.สามารถจัดกิจกรรมบุพเฟ่ผัก ตลาดสีเขียวสร้างรายได้ให้กับผู้ที่เข้ามาปลูก 4.สร้างกลุ่มผู้สูงอายุเพื่อทำหมอนสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

1.กลุ่มปลูกผัก
2.กลุ่มเกษตรพอเพียง

 

กลุ่มผู้สูงอายุทำหมอนสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เกษตร กศน.ตำบล ด้านความมั่นคงทางอาหารและเศรษฐกิจพอเพียง

 

ขยายผลและสร้างเป็นจุดเช็คอิน ศูนย์เรียนรู้เกษตร ล้อยาง เปิดให้เป็นที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เกิดการบริโภคที่แบ่งปันพอเพียง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการเคลื่อนไหวร่างกายในการปลูกผักและลงแปลงผัก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ลดความเครียดในสภาวะขาดแคน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

1.นำภูมิปัญญา วิถีชาวบ้านมาใช้ในการปลูกผัก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ใช้ใบไม้แห้ง กิ่งไม้แห้งมาทำปุ๋ย ลดขยะธรรมชาติ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

 

1.เพิ่มรายได้ให้บุคคลที่ไม่มีที่ื ทำกินและไม่มีอาชีพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

1.แบ่งการดูแลผัก 2.แบ่งโซนเยี่ยม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดกระบวนการปลูกผักในล้อยาง ปลอดสารพิษ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

1.ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ 2.ประชาชนสามารถนำไปต่อยอดที่บ้านได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ปลูกผักในครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

เกิดการแบ่งปัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษและปลูกผักสมุนไพรพื่อส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลักขณา หมัดอาดัม ประธาน อสม.ชุมชนบ้านคลองผ่าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด