กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังอยูได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและระบบส่งต่อ ลดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการร้อยละ ๑๐๐
0.00 100.00

 

2 ๒. เพื่อคัดกรอง ค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค เรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : - สามารถค้นหาคัดกรอง ในกลุ่มเป้าหมาย ๓๕ ปี ขึ้นไป ร้อยละ ๙๕
0.00 95.00

 

3 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ ๕๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ - กลุ่มเป้าหมายได้รับคัดกรองความดันโลหิต เบาหวาน ร้อยละ ๙๕ - กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ๑๐๐ - ผู้ป่วยเรื้อรังไม่อยู่ระบบและผู้ป่วยรายใหม่ 1. มีการตรวจเลือด ร้อยละ 100 2. ตรวจตา ร้อยละ 100 3. ตรวจฟัน ร้อยละ 100 4. ตรวจเท้า ร้อยละ 100 5. พบแพทย์และอยู่ในระบบการดูแลของแพทย์และ จนท. ร้อยละ 100
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังอยูได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและระบบส่งต่อ ลดภาวะแทรกซ้อน (2) ๒. เพื่อคัดกรอง ค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค เรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน (3) 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร (2) กิจกรรมฝึกทักษะการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ 1ส ในกลุ่มเสี่ยง (3) อบรมและคัดเลือกตัวแทน ที่มีความสามารถในการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะการเรียนรู้ดูแลตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh