กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง


“ โครงการเยาวชนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด ”

ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะตอเฮ เจะโอะ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3062-2-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3062-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 120 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคอลอตันหยง เข้าใจถึงสภาพปัญหาต่างๆ ในพื้นที่เป็นอย่างดีซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นในระดับต้นๆ คือ ปัญหาการติดสิ่งเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ปัจจุบันเด็กและเยาวชนไทยเติบโตในท่ามกลางพื้นที่เสี่ยง หลากหลายรูปแบบ นับตั้งแต่พื้นที่ครอบครัวที่มีแต่ความแตกแยก ความรุนแรง พื้นที่โรงเรียนที่แวดล้อมด้วยสภาพภายนอกที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เช่นการแอบเสพยา การหนีเรียนนอกจากนี้ในพื้นที่สื่อหรือบนโลกอินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นพื้นที่สำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง กลับเป็นพื้นที่เสี่ยงที่เต็มไปด้วยภาพเสมือนที่มอมเมาเด็กและเยาวชน และมากกว่านั้นพื้นที่ในชุมชน รวมถึงพื้นที่ทางสังคมที่ล้อมรอบตัวเด็กเต็มไปด้วยอบายมุขมากมาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคอลอตันหยง เล็งเห็นถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มเด็กโต อายุ 6 ปี ถึงอายุต่ำกว่า 28 ปี จึงได้จัดทำโครงการเครือข่ายเยาวชนต่อต้านยาเสพติดซึ่งเป็นกิจกรรมการจัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์โครงการดังกล่าวมีเครือข่ายเยาวชนในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง จำนวน 8 หมู่บ้าน กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคอลอตันหยง ได้จัดให้มีกิจกรรมกลุ่มกระตุ้น ส่งเสริม และสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนสนใจเรียนรู้ เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนมีพื้นที่ทางความคิดสำหรับเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องผ่านการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ และริเริ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ที่เน้นการพัฒนาทักษะชีวิต คุณธรรม และจริยธรรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย จัดกิจกรรมในการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้มีความสามารถในการบริหารจัดการโครงงานเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเองซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนของพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน จัดเวทีเสวนาร่วมกันระหว่างเด็กและเยาวชนในตำบลคอลอตันหยง เพื่อเป็นการกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกในการต่อต้านสิ่งเสพติดให้กับเด็กและเยาวชน ให้ทราบและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่เด็กและเยาวชนต้องมีเกราะคุ้มกันภัยห่างไกลสิ่งเสพติด ด้วยความตระหนักว่าเด็กและเยาวชนคืออนาคตของชาติ หากปัญหาเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้นมากเท่าใด ย่อมส่งผลต่ออนาคตของชาติมากขึ้นเท่านั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้น ส่งเสริม และสนับสนุนให้กลุ่มเด็กและเยาวชนสนใจเรียนรู้ และริเริ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ที่เน้นการพัฒนาทักษะชีวิต คุณธรรม และจริยธรรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้มีความสามารถในการบริหารจัดการโครงงานเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนของพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน และสอดแทรกความรู้เรื่องโรคเอดส์ที่เกิดจากการใช้ยาเสพติด
  3. เพื่อเปิดพื้นที่ทางเลือก และสนับสนุนการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ แลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินงานระหว่างกลุ่มเด็กและเยาวชน
  4. เพื่อให้สังคมเห็นคุณค่าและความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน
  5. เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนต้านยาเสพติดให้มีความเข้มแข็ง รณรงค์สร้างกระแส ปลุกจิตสำนึก ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อเป็นพื้นฐานของการเสริมสร้างชุมชนให้มีความเข้มแข้งปลอดยาเสพติด
  6. เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนัก และเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อสร้างแนวร่วมในระดับเยาวชน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบโดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดเลือกเด็กและเยาวชนที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ
  2. ดำเนินงานโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ จัดกิจกรรมเสวนาระหว่างเด็กและเยาวชน จัดกิจกรรมนันทนาการกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักปัญหายาเสพติด
  3. ติดตามการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ เกิดการริเริ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ที่เน้นการพัฒนาทักษะชีวิต คุณธรรม และจริยธรรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
  2. เด็กและเยาวชนสามารถบริหารจัดการโครงงานเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนของพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
  3. เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินงานระหว่างกลุ่มเด็กและเยาวชน
  4. ชุมชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน
  5. เกิดเครือข่ายเยาวชนต้านยาเสพติด เกิดจิตสำนึกในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเพื่อเป็นพื้นฐานของการเสริมสร้างชุมชนให้มีความเข้มแข็งปลอดยาเสพติด
  6. เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนัก และเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เกิดแนวร่วมในระดับเยาวชน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบโดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกระตุ้น ส่งเสริม และสนับสนุนให้กลุ่มเด็กและเยาวชนสนใจเรียนรู้ และริเริ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ที่เน้นการพัฒนาทักษะชีวิต คุณธรรม และจริยธรรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ตัวชี้วัด :
120.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้มีความสามารถในการบริหารจัดการโครงงานเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนของพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน และสอดแทรกความรู้เรื่องโรคเอดส์ที่เกิดจากการใช้ยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
120.00

 

3 เพื่อเปิดพื้นที่ทางเลือก และสนับสนุนการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ แลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินงานระหว่างกลุ่มเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด :
120.00

 

4 เพื่อให้สังคมเห็นคุณค่าและความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด :
120.00

 

5 เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนต้านยาเสพติดให้มีความเข้มแข็ง รณรงค์สร้างกระแส ปลุกจิตสำนึก ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อเป็นพื้นฐานของการเสริมสร้างชุมชนให้มีความเข้มแข้งปลอดยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
120.00

 

6 เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนัก และเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อสร้างแนวร่วมในระดับเยาวชน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบโดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย
ตัวชี้วัด :
120.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้น ส่งเสริม และสนับสนุนให้กลุ่มเด็กและเยาวชนสนใจเรียนรู้ และริเริ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ที่เน้นการพัฒนาทักษะชีวิต คุณธรรม และจริยธรรม ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนให้มีความสามารถในการบริหารจัดการโครงงานเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนของพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน และสอดแทรกความรู้เรื่องโรคเอดส์ที่เกิดจากการใช้ยาเสพติด (3) เพื่อเปิดพื้นที่ทางเลือก และสนับสนุนการสร้างพื้นที่การเรียนรู้  แลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินงานระหว่างกลุ่มเด็กและเยาวชน (4) เพื่อให้สังคมเห็นคุณค่าและความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน (5) เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนต้านยาเสพติดให้มีความเข้มแข็ง รณรงค์สร้างกระแส  ปลุกจิตสำนึก ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อเป็นพื้นฐานของการเสริมสร้างชุมชนให้มีความเข้มแข้งปลอดยาเสพติด (6) เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนัก และเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อสร้างแนวร่วมในระดับเยาวชน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบโดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดเลือกเด็กและเยาวชนที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ (2) ดำเนินงานโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษ จัดกิจกรรมเสวนาระหว่างเด็กและเยาวชน  จัดกิจกรรมนันทนาการกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักปัญหายาเสพติด (3) ติดตามการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนวัยใส ห่างไกลยาเสพติด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3062-2-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะตอเฮ เจะโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด