กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2562 หมู่ที่ 4 บ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา ”

ชมรมผู้สูงอายุ ม.4 ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเหม หัมหรับ ประธานชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2562 หมู่ที่ 4 บ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา

ที่อยู่ ชมรมผู้สูงอายุ ม.4 ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5248-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2562 หมู่ที่ 4 บ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ ม.4 ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2562 หมู่ที่ 4 บ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2562 หมู่ที่ 4 บ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ชมรมผู้สูงอายุ ม.4 ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5248-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) ตั้งแต่ ปี 2548 คือ มีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ10 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2563 โดยมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจาก 10.3 ล้านคน (ร้อยละ 16.2) ในปี 2558 เป็น 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ในปี 2583 เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบอย่างกว้างขวาง ทั้งในระดับมหภาค ได้แก่ รายได้ต่อหัวประชากร การลงทุนงบประมาณของรัฐบาล และการคลังผลิตภาพแรงงานและการจ้างงาน ส่วนในระดับจุลภาคได้แก่ ผลต่อตลาดผลิตภัณฑ์และการบริการด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านสุขภาพและด้านการเงิน อันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยที่ยังมิได้คำนึงถึงค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู ซึ่งสูงขึ้นตามอายุ ขณะที่อัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรวัยสูงอายุนั้นเพิ่มขึ้นอาจจะนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจสังคมรวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยบั้นปลายของชีวิตเป็นวัยที่ต้องพึ่งพาบุตรหลานและพึ่งพาตนเองได้น้อยลง เพราะมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไปมีความเสื่อมของร่างกายและเจ็บป่วยได้ง่าย ปัญหาด้านสุขภาพที่พบได้บ่อย ๆ ในผู้สูงอายุได้แก่ เกิดภาวะกระดูกหักง่าย สายตาไม่ดี หูตึง ฟันไม่ดี เป็นลมบ่อย เรอบ่อย ท้องผูก เบาหวาน หลงลืมบ่อย หัวใจและหลอดเลือด รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม       การที่จำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สืบเนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น    แต่ผู้สูงอายุยังคงได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอย่างไม่มีความสุข ดังนั้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับผู้สูงอายุจึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2562 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูและส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมและเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุด้วยตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
  3. เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุติดบ้าน
  4. เพื่อตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
  5. เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 125
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุและผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น 2 ผู้สูงอายุมีความเข้าใจ สามัคคี ปรองดองซึ่งกันและกัน
    2. ผู้สูงอายุติดบ้านมีปฏิสัมพันธ์ มีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า
    3. ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง
    4. ผู้สูงอายุมีการปรับตัวได้ดี สนใจเข้ากลุ่มร่วมกิจกรรมในชมรมอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุติดบ้าน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    5 เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 125
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 125
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุด้วยตนเอง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (3) เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุติดบ้าน (4) เพื่อตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ (5) เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2562 หมู่ที่ 4 บ้านตะเคียนเภา ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L5248-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเหม หัมหรับ ประธานชมรมผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด