กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก


“ แม่ลูกปลอดภัย ใส่ใจการตั้งครรภ์ ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมาหะมะนาวาวี หะยีอูเซ็ง

ชื่อโครงการ แม่ลูกปลอดภัย ใส่ใจการตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"แม่ลูกปลอดภัย ใส่ใจการตั้งครรภ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แม่ลูกปลอดภัย ใส่ใจการตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " แม่ลูกปลอดภัย ใส่ใจการตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8302-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาสุขภาพและอนามัยของบุคคลเป็นองค์ประกอบและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาศักยภาพของคนทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา การพัฒนาทางด้านสาธารณสุขจึงมีส่วนสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2539) การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรในกลุ่มแม่และเด็ก ถือเป็นเป้าหมายหนึ่งที่มีความสำคัญของการพัฒนาด้านสาธารณสุข หน่วยงานเกี่ยวข้องได้มีการดำเนินงานที่จะพัฒนาให้มีการส่งเสริมสนับสนุนแม่และเด็กให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์ โดยในการดำเนินงานนอกจากจะเน้นที่การให้บริการที่มีคุณภาพ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมในระหว่างตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอด ตลอดจนการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการด้านอนามัยแม่และเด็ก การดูแลสุขภาพตนเองของหญิงตั้งครรภ์ถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตกจึงได้จัดทำโครงการตั้งครรภ์คุณภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆของหญิงตั้งครรภ์ รวมถึงการดูแลหญิงตั้งครรภ์แบบองค์รวม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตลอดจนการดึงชุมชุนให้เข้ามามีส่วนรวมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด       จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตกปีงบประมาณ 2561 พบว่า มีหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดจำนวน 73คน ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์จำนวน 57 คนคิดเป็นร้อยละ 78.08 อัตราการเกิดภาวะซีดจำนวน 16 คนคิดเป็นร้อยละ 21.91 อัตรามารดาที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปีจำนวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ 4.11 ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์จำนวน 67 คนคิดเป็นร้อยละ 91.78 และจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดจำนวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 10.96

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง
  2. ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้สามี ญาติและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์จนกระทั้งถึงหลังคลอด
  3. ข้อที่ 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสียงหัวใจแรกของลูก
  2. กิจกรรมเครือข่ายร่วมดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
  3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ฝากให้เร็ว ฝากให้ไว ฝากให้ครบ ลดภาวะเสี่ยง
  4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติ
  5. กิจกรรมอบรม อสม.เชี่ยวชาญด้านอนามัยแม่และเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง
  2. สามี/ญาติ และชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์จนกระทั้งถึงหลังคลอด
  3. ลดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ฝากให้เร็ว ฝากให้ไว ฝากให้ครบ ลดภาวะเสี่ยง

วันที่ 1 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชาสัมพันธ์ฝากให้เร็ว  ฝากให้ไว ฝากให้ครบ ลดภาวะเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนทราบถึงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไว ฝากให้ครบ ลดภาวะเสี่ยง

 

500 0

2. เสียงหัวใจแรกของลูก

วันที่ 6 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมเสียงหัวใจแรกของลูก เปิดโอกาสให้คุณพ่อได้มาฟังเสียงหัวใจลูกเพื่อส่งเสริมความผูกพันในครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์เป็นความสำคัญในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์

 

40 0

3. กิจกรรมเครือข่ายร่วมดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน

วันที่ 31 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเครือข่ายหาแนวทางการแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์

 

30 0

4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติ

วันที่ 13 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมกันหาปัญหา  และแนวทางการดำเนินการร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ญาติและสามีมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์

 

40 0

5. กิจกรรมอบรม อสม.เชี่ยวชาญด้านอนามัยแม่และเด็ก

วันที่ 27 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ค้นหาหญิงตั้งครรภ์ ติดตามการกินยา การติดตามการฝากครรภ์ ติดตามหลังคลอด ติดตามการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีความชำนาญในการดูแลหญิงตั้งครรภ์

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์มีความรู้หลังการอบรมมากกว่าร้อยละ 80
0.00 80.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้สามี ญาติและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์จนกระทั้งถึงหลังคลอด
ตัวชี้วัด : -มีกลุ่มเครือข่ายในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
0.00 80.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดไม่เกิดร้อยละ 10
0.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.  เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง (2) ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริมให้สามี ญาติและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์จนกระทั้งถึงหลังคลอด (3) ข้อที่ 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสียงหัวใจแรกของลูก (2) กิจกรรมเครือข่ายร่วมดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ฝากให้เร็ว  ฝากให้ไว ฝากให้ครบ ลดภาวะเสี่ยง (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติ (5) กิจกรรมอบรม อสม.เชี่ยวชาญด้านอนามัยแม่และเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


แม่ลูกปลอดภัย ใส่ใจการตั้งครรภ์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมาหะมะนาวาวี หะยีอูเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด