กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชาวประชาร่วมใจต้านภัยโรคไข้เลือดออกเทิดไท้องค์ราชัน
รหัสโครงการ 62-L2532-1-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.กะลูบี
วันที่อนุมัติ 12 มีนาคม 2019
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2018 - 30 กันยายน 2019
กำหนดวันส่งรายงาน 16 กันยายน 2019
งบประมาณ 13,920.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.กะลูบี
พี่เลี้ยงโครงการ อบต.มาโมง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.876,101.764place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในงานควบคุมโรคให้มากขึ้น

 

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรค การดูแลตนเอง ในเรื่องโรคติดต่อ และสามมารถดูแลเพื่อนบ้านได้ ให้มากขึ้น

 

0.00
3 เพื่อให้เกิดความร่วมมือแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ

 

0.00
4 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย,ไข้เลือดออก

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโครงการ 2.จัดทำอุปกรณ์และเอกสารต่างๆ - แผนที่หมู่บ้านเป้าหมาย -สมุดคุมการออกปฏิบัติงานควบคุมโรค-คู่มือการพ่นสารเคมี -ทะเบียนคุมแผนการพ่นสารเคมี 3.จัดอบรมทีมงานพ่นสารเคมีเพื่อเตรียมพร้อมก่อนปฏิบัติงาน 4.สำรวจค่าBI,CI,HI 5.สำรวจข้อมูลและแนวทางระบาดของโรค รวมถึงกำหนดนิยามต่างๆไว้เพื่อกำหนดทิศทางในกรณีเกิดเหตุระบาด 6.ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์แก่กลุ่มอสม. แกนนำครอบครัว กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้ใช้แรงงาน 7.ทำแผนออกการให้สุขศึกษา 8.ทำแผนการออกพ่นสารเคมีและเตรียมทรายอะเบท 9.ออกพ่นสารเคมีครั้งที่ 1 เก็บข้อมูล ปัญหาอุปสรรคเพื่อมาประเมินแก้ไขวางแผนในครั้งต่อไป ขณะมีการระบาด 1.ตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับจาการค้นหาให้ละเอียดรอบคอบ 2.ลงสอบสวนโรคพร้อมทำการควบคุม ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย -พ่นสารเคมี รัศมี 100 เมตร -แจกทรายอะเบท 3.ให้สุขศึกษารายบุคคล/รายกลุ่มตามแต่กรณี ในการบริการเชิงรุก 4.เก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์สาเหตุ 5.เขียนรายงาน 506 ทุกราย 6.ติดตามเฝ้าระวังการเกิดโรคซ้ำในระยะเวลา 21 วัน หลังการระบาด 1.ออกบริการเชิงรุกในทุกพื้นที่เพื่อปฏิบัติการเชิงจิตวิทยาชุมชน 2.ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทุกรายเพื่อติดตามอาการ ให้สุขศึกษาในการดูแลตนเอง 3.สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำ 4.สรุปผลการดำเนินการ เก็บข้อมูล ปัญหามาวางแผนในครั้งต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มี.ค. 2019 14:17 น.