กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านเกษตรอินทรีย์ปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในชุมชน 2.การแก้ไขปัญหาสารเคมีเกษตรที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ๓ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : การติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์เพื่อสุขภาพ โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะองค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง ติดตามผลการทำการเกษตรปลอดสารและมีการสำรวจการประเมินโดยการสัมภาษณ์ และสอบถาม ซึ่งผลจากการทำโครงการนี้ยังสามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เพื่อเป็นตัวอย่างในการดำเนินกิจกรรมให้แก่หมู่บ้านอื่นๆต่อไป
80.00 150.00

 

2 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น
90.00 0.00 150.00

 

3 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 100 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านเกษตรอินทรีย์ปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในชุมชน 2.การแก้ไขปัญหาสารเคมีเกษตรที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ            ๓  เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม (2) เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน (3) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเกิดแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์เพื่ออาหารสุขภาวะ (2) กิจกรรมปุ๋ยอินทรีย์ ผักมีคุณภาพ ร่างกายปลอดภัย (3) อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ จัดหาวัตถุดิบสนับสนุนให้แต่ละครัวเรือนดำเนินการทำการเกษตรอินทรีย์ (4) กิจกรรม การประเมินภาวะสุขภาพ  กิจกรรมปุ๋ยอินทรีย์ ผักมีคุณภาพ ร่างกายปลอดภัย รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ          จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh