กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง


“ โครงการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายบุญรอด บุญช่วย

ชื่อโครงการ โครงการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1520-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1520-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,335.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นปัญหาใหญ่ที่ประชาชนประสบ เพราะสิ่งแวดล้อมถูกประชาชนทำลายไปมาก ก่อให้เกิดปัญหามากมายตามมา ไม่ว่าจะเป็นภาวะโลกร้อน ปัญหาขยะล้นเมือง ปัญหาสุขภาพอนามัย ซึ่งขยะเป็น ปัญหาหลักของสิ่งแวดล้อมที่ยากที่จะแก้ไข และสาเหตุหนึ่งเกิดจากประชาชนไม่รู้จักวิธีการบริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้น ส่วนมากแล้วจะทิ้งลงข้างทางบ้างหรือทิ้งลงตามแม่น้ำลำคลอง ก่อให้เกิดสิ่งปฏิกูลมากมาย และสำหรับการทิ้งขยะ  ลงแม่น้ำจะทำให้น้ำเกิดการเน่าเสียได้ ส่วนหนึ่งเกิดจากสาเหตุที่คนทั่วไปไม่รู้จักการคัดแยกขยะ เมื่อมีขยะก็จะรวมกันกำจัดไปในคราวเดียวกัน ขยะมูลฝอยขยะหรือของเสีย แบ่งเป็น มูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษ โฟม พลาสติก ขวด แก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง กากน้ำมัน หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ใช้แล้ว แหล่งกำเนิดของเสียที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรม การนำขยะไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม คือ 1.อากาศเสีย เกิดจากการเผามูลฝอยกลางแจ้งทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ 2.น้ำเสีย เกิดจากการกองมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้นเมื่อฝนตกจะเกิดน้ำเสียซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำทำให้เกิดภาวะมลพิษทางน้ำ 3.แหล่งพาหะนำโรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อ ทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน 4. เหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมด  ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน คณะกรรมการหมู่บ้าน บ้านห้วยใหญ่จึงเห็นความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม และต้องสร้างจิตสำนึกของการห้ามทิ้งขยะโดยปลูกฝังให้แก่เยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป พร้อมทั้งจัดหาวิธีการดำเนินการจัดการเกี่ยวกับขยะเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและมีประโยชน์มาก พร้อมกับเสนอวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง เพื่อนำเข้าสู่ขั้นตอนการจัดการขยะที่ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ชุมชนมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ได้ด้วยตนเอง
  2. เพื่อลดพาหนะนำโรคในชุมชน อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ
  3. เพื่อขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ได้ด้วยตนเอง
๒. ลดพาหนะนำโรคในชุมชน อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ ๓. ประชาชนมีส่วนร่วม ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค

วันที่ 5 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. อบรมให้ความรู้กับประชาชนหมู่ที่ ๑๒ จำนวน ๑๐๐ คน เพื่อสะท้อนสภาพปัญหาด้านสุขาภิบาลและแนวทางการจัดการขยะของชุมชนนั้น เพื่อให้ทราบสภาพที่แท้จริง และการจัดการบ้านเรือนในชุมชน และร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา และแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาโดยให้เน้นถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนในเรื่องการจัดการด้านสุขาภิบาลในชุมชนแนวทางการจัดการขยะ เพื่อดำเนินงานในระดับครัวเรือน และแต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินการจัดการขยะ (ธนาคารขยะประจำหมู่ที่ ๑๒) และดำเนินการร่างระเบียบข้อบังคับและประกาศใช้ระเบียบเพื่อให้เกิดการคัดแยกขยะเป็นชนิด โดยแบ่งเป็น -ขยะเปียก ที่เป็นเศษอาหารมีการกำจัดโดยทิ้งใส่ถังหมักที่มีกากน้ำตาล เพื่อเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพนำไปบำรุงดิน หรือพัฒนาเป็นน น้ำหมักไล่แมลง รดพืชผัก ต้นไม้ ที่ปลูกในสวนหรือไร่นา -ขยะรีไซเคิล ให้มีการคัดแยกแต่ละชนิดในครัวเรือน พลาสติก กระดาษ แก้ว แยกขยะใส่ภาชนะที่จัดเก็บเก็บไว้แล้วทำการนัดหมายสมาชิกกลุ่มมารวมขยะเพื่อจะบันทึกน้ำหนักขยะ ของแต่ละครัวเรือนพร้อมนัดหมายรถรับซื้อขยะเข้ามาชื้อขยะ รีไซเคิลในชุมชน และนำเงินที่ได้บริหารจัดการตามระเบียบของธนาคารขยะ -ขยะทั่วไป เป็นขยะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการนำไปรีไซเคิล เช่น ซองบะหมี่สำเร็จรูปเปลือกลูกอม ถุงขนม และ ถุงพลาสติก -ขยะอันตราย ต้องเก็บรวบรวมแล้วนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี เช่น กระป๋องยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย ๒. ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการแก่ประชาชนหมู่ที่ ๑๒ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสร้างความเข้าใจแก่หน่วยงานและองค์กรต่างๆเพื่อแสวงหาแหล่งทุนและความร่วมมือในการดำเนินงานจัดการขยะอย่างครบวงจร ๓. ประชาชนหมู่ที่ ๑๒ ร่วมกันรณรงค์ จัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้าน และชุมชนให้น่าอยู่ เน้นปลุกจิตสำนึกให้ตระหนักในการรักษาความสะอาด ๔. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะอย่างครบวงจร และ พาหะนำโรคจากขยะที่เป็นสาเหตุนำไปสู่การเกิดโรคต่างๆโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ แก่ประชาชนหมู่ที่ ๑๒ ทั้ง ๑๐๐คน เพื่อให้สามารถดำเนินการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง และถูกหลักการตามแนวทางการจัดการขยะแบบครบวงจร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ได้ด้วยตนเอง
๒. ลดพาหนะนำโรคในชุมชน อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และรู้จักบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ได้ด้วยตนเอง 2.ลดพาหะนำโรคในชุมชน อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ชุมชนมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดพาหนะนำโรคในชุมชน อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ได้ด้วยตนเอง (2) เพื่อลดพาหนะนำโรคในชุมชน อันเป็นผลพวงจากขยะ เช่น หนู และแมลงต่าง ๆ (3) เพื่อขยายผลสู่การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดแยกขยะ ลดขยะ ลดพาหะนำโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1520-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบุญรอด บุญช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด