กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี


“ เฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี ”

ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางกนกพร ศรีรัตนพันธ์

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี

ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3352-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3352-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,358.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยจัดเป็นประเทศกษตรกรรมประเทศหนึ่ง ที่สมารถผลิตพืชผลทางการเกษตรสำหรับ บริโภคภายในประเทศได้อย่างพอเพียง อีกทั้งยังมีผลผลิตส่งเป็นสินคออก นำเงินรายได้เข้ามาเพื่อพัฒนา ประเทศในแต่ละปีคิดเป็นมูลค่หลายหมื่นล้านบาท จึงทำให้เกษตรกรให้ความสนใจเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิต มากขึ้น ซึ่งหนึ่งในวิธีการเพิ่มผลผลิตที่เกษตรกรนิมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุด คือ การใช้สารเคมีกำจัด ศัตรูพืช เกษตรกส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงอันตรายและวิธีกรใช้สารคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชมีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจกประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และรับจ้างฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประกอบกับศัตรูพืชมีการดื้อยา จึงมีการใช้สารเคมีแรงขึ้น มีความ เข้มขันสูงขึ้น ใช้บ่อยครั้งมากขึ้น หรืผสมสรเดมี 6 ชนิดขึ้นไป ทำให้ผู้ใช้สารเคมีมีความเสี่ยงต่อการเกิด อันตรายจากสรเดมีเพิ่มขึ้นเป็นงาตามตัว แนวโน้มสถานการณ์ปัญหาการป่วยด้วยพิษจากสารเคมีกำจัด ศัตรูพืชจึมีแนวโน้มที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนมากขึ้น อันตรายจากสารเคมีจะมีผลต่อ ร่างกายหลายอย่าง อาทิเช่น โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และอื่นๆ ซึ่งส่งผลระยะยาวทั้งในด้านสังคม และเศรษฐกิจ ตำบลชัยบุรี มีประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมมาก ถึงร้อยละ ๘o ของพื้นที่งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนปี นาปรัง ปลูกผัก ผลกระทบจาก ตำบลชัยบุรี เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ใน การใช้สารเคมีในครควบคุและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจยและขยายเป็นวงกว้างและยังอยู่ในระดับที่รุนแรง จากข้อลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกรในขตตำบลชัยบุรี ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก และนำมาใช้ไม่ถูกวิธีหรืขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับสุขภาพโดยตรง จากการดำเนินโครงการฝระว้พฤติกรรมการใช้สารคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ปี ๒๕๖๑ มี ประชาชนเกษตรกกลุ่มป้าหมายข้ารับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด จำนวน ๑๐๗ คน ผลการตรวจพบว่า ไม่มีสารเคมีตกค้างในเลือดระดับปกติ ๒๓ คนระดับปลอดภัย ๒๕ คน มีความเสี่ยง ๕๒ คน ไม่ปลอดภัย ๗ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๕.o๒, ๑๐.๒๘ 57.94 และ ด๗ ๗๖ ตามลำดับ และคนที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย จำนวน ๙ คน ได้รับการตรวจหสารเคมีในเลือดครั้งที่ ๒ พบว่า ผลปกติ ๖ คน ร้อยละ ๑๐.๑๗ ปลอดภัย ๒๖ คน ร้อยละ๔๔.๐๗,มีดวามเสี่ยง และไม่ปลอดภัย คิดเป็น ๔๕.๗๖ ดังนั้น โรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอ้ายน้อย จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรใน เขตพื้นที่รับผิดชอบ จึได้จัดทำโครงกรฝาระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ต่อเนื่องใน ปี ๒๕๖๒ ในพื้นที่หมู่ที่ ๒ และหมู่ที่ ๕ ตำบลชัยบุรี เพื่อให้เกษตรกกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจ สุขภาพและเจาะเลือด เพื่อฝ้าระวังสารเคมีตกค้าในกระแสเลือด และฝ้าระวังภาวะสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ปลอดภัย
  2. 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. 3.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าเข็มเจาะเลือดปลายนิ้วกลุ่มเป้าหมาย
  2. ค่าอาหาร่ว่างและเครื่องดื่มในการฝึกอบรม กลุ่มเป้ายหมาย
  3. ค่าตอบแทนวิทยากรอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
  4. ค่าป้ายไวนิลโครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด 2.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 90 3.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือดระดับเกณฑ์ปกติและปลอดภัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 4.ประชาชนมีความตระหนักในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย ลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด 2.เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 90 3.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือดระดับเกณฑ์ปกติและปลอดภัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 4.ประชาชนมีความตระหนักในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย ลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 90
0.00

 

2 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : 2.ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
0.00

 

3 3.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : 3.กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจ 200 คน และกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีตกค้างในเลือดอยู่ในระดับปกติและปลอดภัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ปลอดภัย (2) 2.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (3) 3.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าเข็มเจาะเลือดปลายนิ้วกลุ่มเป้าหมาย (2) ค่าอาหาร่ว่างและเครื่องดื่มในการฝึกอบรม กลุ่มเป้ายหมาย (3) ค่าตอบแทนวิทยากรอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย (4) ค่าป้ายไวนิลโครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรในพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 5 ตำบลชัยบุรี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3352-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกนกพร ศรีรัตนพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด