กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี


“ เติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์

ชื่อโครงการ เติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3352-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"เติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " เติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3352-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,870.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชัยบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นับวันจะเพิ่มมากขึ้น กระทรวงสาธารณสุขต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง รายงานสถิติสุขภาพทั่วโลกปี 2555 ขององค์การอนามัยโลก พบว่า 1 ใน 10 ของประชาชนที่ป่วยโรคเบาหวาน และ 1 ใน 3 มีภาวะความดันโลหิตสูง ประมาณร้อยละ 63 ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลก ประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขเผยว่าคนไทยป่วยด้วย 5 โรค ไม่ติดต่อเรื้อรังอันตราย เพิ่มขึ้นนาทีละ 1 คน โดยในปี 2551 ผู้ป่วยสะสมกว่า 2 ล้านคน ไม่เพียงผู้ป่วยจำนวนมากเท่านั้นแต่ยังเป็นสาเหตุที่นำไปสู่โรคแทรกซ้อนกับอวัยวะต่าง ๆ มากมาย เช่น ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง ปัญหาสำคัญคือโรคแทรกซ้อน คือ ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ควบคุมความดันไม่ได้ ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ได้แก่ ไตวายเรื้อรัง โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคหัวใจและหลอดเลือดการถูกตัดขาตัดนิ้ว มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งคือ ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพโดยลดระดับความรุนแรงของโรคภาวะแทรกซ้อนของโรค ซึ่งจากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระ มีผู้ป่วยเรื้อรังทั้งหมด 555 คน แยกเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 160 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 395 คน ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนทั้งหมด 192 คน คิดเป็นร้อยละ 24.59ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด ซึ่งภาวะแทรกซ้อนที่พบ ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 23 คน โรคหลอดเลือดหัวใจ จำนวน 5 คน มีภาวะเสี่ยงทางไต (ระดับ 3-5) และภาวะแทรกซ้อนทางไต จำนวน 139 คน เป็นแผลที่เท้าหรือตัดนิ้ว จำนวน 5 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระมีการจัดบริการคลินิกโรคเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เปิด ให้บริการเดือนละ 1 ครั้ง มีผู้มารับบริการคลินิก ประมาณ 230 คน โดยการบริการได้คำนึงถึงคุณภาพการดูแล การจัดบริการเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการ รับยาอย่างต่อเนื่องบริการอย่างมีคุณภาพทุกคนต้องได้รับการตรวจเลือดประจำปีอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง ผลการตรวจเลือดที่ผ่านมากผู้ป่วยยังมีภาวะแทรกซ้อนมากมายผู้ป่วยยังมีปัญหาด้านพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสม พฤติกรรมส่งผลให้ระดับความรุนแรงของโรคไม่ลดลง เกิดภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้นได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากสระเห็นความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยจึงได้จัดทำโครงการเติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือดประจำปี เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้ป่วยตรวจเลือดประจำปี
  2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรม
  3. ค่าสมมนาคุณวิทยากร
  4. ค่ากระเป๋าใส่เอกสารวัสดุสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
  5. ค่าป้ายไวนิลโครงการเติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 230
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือดประจำปี และมีความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อสามารถนำไปพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เพื่อลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือดประจำปี และมีความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อสามารถนำไปพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เพื่อลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือดประจำปี เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือดประจำปี เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 230
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 230
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือดประจำปี เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้ป่วยตรวจเลือดประจำปี (2) ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรม (3) ค่าสมมนาคุณวิทยากร (4) ค่ากระเป๋าใส่เอกสารวัสดุสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม (5) ค่าป้ายไวนิลโครงการเติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เติมยาเติมใจผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3352-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวรัตน์ นพฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด