กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำนวัตกรรม "สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง" ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายมูหะหมัด ยาอีด

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำนวัตกรรม "สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง"

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5246-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำนวัตกรรม "สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง" จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำนวัตกรรม "สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำนวัตกรรม "สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5246-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกที่มีการระบาดอยู่ทั่วประเทศ ส่งผลกระทบตามามากมาย ตำบลท่าโพธิ์ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทุกปี ในปี2558-2560 พบผู้ป่วย จำนวน 78 8 และ 2ราย ตามลำดับ ซึ่งพบว่าอัตราการป่วยเกินเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของไข้เลือดออก และโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค กลุ่ม อสม. ม.3 ต.ท่าโพธิ์ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น โดยการแปรรูปสมุนไพรที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่นนำมาใช้ประโยชน์ในการไล่ยุง ป้องกันยุง ปลอดสารพิษและมีราคาถุก สามารถทำใช้เองได้ในครัวเรือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยุ่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี
  2. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักาะของ อสม. ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมวิธีการทำสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงโดยแพทย์แผนไทย รพ.สะเดา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 การคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในชุมชนมีความครอบคลุม 2 ลดการแพร่ระบาดของวัณโรคในชุมชน จำนวนผู้ป่วยลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมวิธีการทำสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงโดยแพทย์แผนไทย รพ.สะเดา

วันที่ 18 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมขั้นตอนการทำสเปรน์สมุนไพรไล่ยุง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงได้ด้วยตอนเอง รวมถึงขั้นตอนของการบรรจุลงผลิตภัณฑ์พร้อมจำหน่าย

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยุ่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี
ตัวชี้วัด : ประชาชนลดการใช้สารเคมีและมีการใช้สมุนไพรในการป้องกันยุงกัด ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักาะของ อสม. ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน
ตัวชี้วัด : -ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักาะในการจัดการสุขภาพประชาชนร้อยละ 100 - ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการจัดทำนวัตกรรมเพื่อช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ชุมชน ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยุ่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี (2) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักาะของ อสม. ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมวิธีการทำสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงโดยแพทย์แผนไทย รพ.สะเดา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำนวัตกรรม "สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง"

รหัสโครงการ 62-L5246-2-04 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

-เกิดองค์ความรู้ด้านการทำผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงที่ทำมาจากพืชสมุนไพรที่มีในท้องถิ่นไว้ใช้เอง -เกิดองค์ความรู้ด้านการใช้กลิ่นของพืชสมุนไพรมาฉีดพ่นให้เกิดความผ่อนคลาย และช่วยให้หลับสบาย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

มีการนำวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันยุง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เป็นการนำความรู้ที่ได้รับจากโครงการนำไปสู่การปฏิบัติจริงในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดการรวมตัวกันเป็นกลุ่มใหม่เกิดขึ้น ได้แก่กลุ่มปลูกพืชสมุนไพร กลุ่มอาหารเพื่อสุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ผู้เข้าร่วมอบรมนำความรู้การทำผลิตภัณฑ์ไปถ่ายทอดต่อโดยสอนให้กับกลุ่มนักเรียนในสถานศึกษาในตำบล

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ประชาชนให้ความสนใจที่จะใช้ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงที่มีส่วนผสมจากสมุนไพรในท้องถิ่น ในการป้องกันโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนให้ความสนใจกับการบริโภคสมุนไพรตามแนวคิดรับประทานอาหารให้เป็นยามากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

เกิดการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่นมีการปลูกพืชสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือนกันมากขึ้น ทำให้ลดความสนใจในอบายมุขต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

กลิ่นของผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากสมุนไพร ช่วยให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลายและสดชื่น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการนำผลิตภัณฑ์สเปร์สมุนไพรไปใช้แทนผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากสารเคมีที่มีจำหน่ายในท้องตลาด เพื่อลดผลข้างเคียงของการใช้สารเคมี และประหยัดรายจ่าย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การจัดการตนเอง -เมื่อตนเองเจ็บป่วยนอกจากไปพบแพทย์แล้วยังมีการนำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรมาใช้ควบคู่กันเพื่อป้องกันโรค -นอกจากการใช้ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงแล้ว ยังมีการป้องกันโรคไข้เลือดออกในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย การจัดการครอบครัว -เมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วยนอกจากการพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ มีการนำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรมาใช้ในการป้องกันยุงกัดกับคนในครอบครัว เพื่อป้องกันไม่ให้คนในครอบครัวเจ็บป่วย -จะเกิดความไม่สบายใจเมื่อพบว่ามีคนในครอบครัวเจ็บป่วย การจัดการชุมชน -ชุมชนมีการจัดการด้านการให้ความรู้ในการนำพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์เพื่อป้องกันโรค -เกิดกิจกรรมการเก็บขยะมูลฝอยในพื้นที่สาธารณะเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย -เกิดวิถีชีวิตของคนในชุมชนที่เน้นการปลูกพืชสมุนไพรใกล้ครัว รั้วกินได้ -มีการศึกษาหาความรู้ด้านการใช้พืชสมุนไพรเพื่อป้องกันโรคผ่านทางเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆเพื่อพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-มีกิจกรรมรณรงค์คัดแยกขยะ และกำจัดขยะของคนในชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง -ชุมชนลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรลง เห็นความสำคัญของการใช้สมุนไพรบางชนิดมาทดแทนสารเคมีบางอย่าง -มีการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งในบ้านและรอบบริเวณบ้านให้สะอาด ไม่ให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหรือแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-ประชาชนในพื้นที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

กลุ่มมีการทำผลิตภัณฑ์สเปย์สมุนไพรไล่ยุงต่อเนื่องหลังจากเสร็จสิ้นโครงการไปแล้ว เพื่อนำไปจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับกลุ่ม

ภาพถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีการใช้สมุนไพร และภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีการส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนในชุมชนปลูกพืชสมุนไพรเพื่อนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการทำผลิตภัณฑ์ป้องกันยุง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการประสานงานระหว่างคนในกลุ่มต่างๆของชุมชน ได้แก่ อสม. อบต. รพ.สต. และภาคประชาชน ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการ และมีการนำผลิตภัณฑ์ไปแจกจ่ายและบอกต่อให้กับคนนอกชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-ชุมชนมีการวางแผนการจัดทำโครงการ และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในกลุ่ม - มีการดำเนินการตามแผนที่วางไว้ -ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปต่อยอดทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรอื่นๆได้ เช่น การทำน้ำมันหอมระเหย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการใช้ต้นทุนในชุมชนคือสมุนไพรที่มีในชุมชนมาเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากสมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้ให้กับกลุ่ม

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-มีการนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดในสถานศึกษาในพื้นที่ และถ่ายทอดต่อให้แก่คนในชุมชน -มีการนำผลิตภัณฑ์ที่ทำจากสมุนไพรเพื่อใช้ป้องกันยุง ไปใช้ในสถานศึกษา

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-มีการนำข้อมูลจากสื่อออนไลน์มาผสมกับภูมิปัญญาชาวบ้าน เกิดเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

-ภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ผู้อื่นได้รู้จักและหันมาสนใจผลิตภัณฑ์ที่ทำจากพืชสมุนไพร -ภูมิใจในกลุ่มองค์กรที่สามารถทำให้กลุ่มอื่นๆสนใจในผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในท้องถิ่นที่กลุ่มของตนผลิตขึ้น -ภูมิใจในชุมชนมาก เพราะทุกคนให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการหาวัตถุดิบมาทำผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร และยังเป็นผลงานส่วนสำคัญที่ใช้ประกอบการประกวด อสม.ดีเด่น และได้รับรางวัลชนะเลิศระดับจังหวัด สาขาการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดต่อในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

มีการนำผลิตภัณฑ์ของกลุ่มที่ผลิตได้ไปแจกจ่ายให้กับคนในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนปลอดภัยจากโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

นำพืชสมุนไพรที่เป็นวัตถุดิบใกล้ตัวที่มีในท้องถิ่นมาใช้ทำเป็นอาหาร เป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันยุง เพื่อลดรายจ่าย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

มีการแจกจ่ายผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มผลิตได้ ไปแจกจ่ายให้กับคนในชุมชน รวมถึงแจกจ่ายให้กับบ้านที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกด้วย ทำให้เกิดการแบ่งปันซึ่งกันและกัน ชุมชนเกิดความรู้สึกเหมือนพี่น้อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการศึกษาข้อมูลร่วมกับการนำภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชนมาประยุกต์ใช้ในการทำผลิตภัณฑ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำนวัตกรรม "สเปรย์สมุนไพรไล่ยุง" จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5246-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูหะหมัด ยาอีด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด