กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบองค์รวม ปี 2562 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
( นางพรรณี พรหมอ่อน ) ประธาน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบองค์รวม ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบองค์รวม ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบองค์รวม ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบองค์รวม ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 91,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทย ที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ จากข้อมูลของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประชากรผู้สูงอายุไทยในปี 2560 มีจำนวน 10.2 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 15.45 ของประชากรทั้งหมด ในจังหวัดสงขลามีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป 202,796 คน คิดเป็นร้อยละ 14.24 และคาดการณ์ว่าสัดส่วนของผู้สูงอายุมีแนวโน้มสูงขึ้น
จากข้อมูลประชากรกลางปี งานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครสงขลา พบว่า พ.ศ. 2560 มีประชากร ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 10,195 คน คิดเป็นร้อยละ 15. จากการสำรวจพบจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในปี 2559 – 2561 พบว่ามีจำนวน 59 คน, 60 คนและ 74 คน ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าจำนวนของผู้สูงอายุและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จะมีจำนวนมากขึ้นตามลำดับ เทศบาลนครสงขลาได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ขึ้นในปี 2560 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้มีการรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพโดยสนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านต่างๆ อย่างครอบคลุม ใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและบริการสาธารณะ ทั้งกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม  ติดบ้านและติดเตียงเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมศักยภาพให้สามารถพึ่งตนเองได้ และใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งการจัดบริการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามสภาพการเจ็บป่วย ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา
  2. 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
  3. 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ 2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 280
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครสงขลา มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีสามารถดำรงชีวิตในสังคมด้วยความปกติสุข


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ จำนวน 2 ครั้ง -  ครั้งที่ 1  วันที่ 18 มิถุนายน 2562 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 16 คน -  ครั้งที่ 2  วันที่ 11 กรกฎาคม 2562 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 30 คน

    3.2  การอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูความรู้ด้านการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของ Care giver จำนวน 3 ครั้ง

    -  ครั้งที่ 1 วันที่ 30 กรกฎาคม 2562 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 45 คน - เรื่อง กายภาพบำบัดและศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่จำเป็นสำหรับการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง

    -  ครั้งที่ 2 วันที่ 6 สิงหาคม 2562 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 46 คน - เรื่อง การดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในระยะสุดท้ายและการเสริมแรงญาติ และผู้ป่วยในระยะสุดท้าย

    -  ครั้งที่ 3 วันที่ 13 สิงหาคม 25612 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 50 คน - เรื่อง การดูแลระบบทางเดินหายใจผู้ป่วยเจาะคอและให้ออกซิเจนที่บ้าน - เรื่อง การฝึกปฏิบัติเทคนิคการดูแลทำความสะอาด Tracheostomy tube - เรื่อง การเตรียมอาหารเหลวสำหรับผู้ป่วยที่ให้อาหารทางสายยาง   - การเตรียมอาหารสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและผู้ที่มีภาวะ     - การเตรียมอาหารสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง  ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

    3.3  กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านส่งเสริมสุขภาพกาย จิต สังคมของผู้สูงอายุในชุมชน  จำนวน 7 ครั้ง กลุ่มเป้าหมายครั้งละ 40 คน

    -  ครั้งที่ 1 วันที่ 25 กรกฎาคม 2562
    - เรื่อง ร้องเพลงประสานเสียงสำหรับผู้สูงอายุ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 42 คน -  ครั้งที่ 2 วันที่ 1 สิงหาคม 2562
    - เรื่อง ร้องเพลงประสานเสียงสำหรับผู้สูงอายุ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 42 คน -  ครั้งที่ 3 วันที่ 8 สิงหาคม 2562
    - เรื่อง ร้องเพลงประสานเสียงสำหรับผู้สูงอายุ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 37 คน -  ครั้งที่ 4 วันที่ 15 สิงหาคม 2562
    - เรื่อง ร้องเพลงประสานเสียงสำหรับผู้สูงอายุ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 44 คน -  ครั้งที่ 5 วันที่ 29 สิงหาคม 2562
    - เรื่อง ลีลาศขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 57 คน -  ครั้งที่ 6 วันที่ 5 กันยายน 2562
    - เรื่อง ลีลาศขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 56 คน   -  ครั้งที่ 7 วันที่ 12 กันยายน 2562
    - เรื่อง อาหารตามเทศกาลและสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 25 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา
    ตัวชี้วัด : 3.๑ จำนวนผู้สูงอายุที่มาร่วมกิจกรรมมีมากกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายในแต่ละกิจกรรม
    80.00 80.00

    จำนวนผู้สุงอายุมากกว่า ร้อยละ 80 6ครั้ง จาก 7 ครั้ง

    2 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
    ตัวชี้วัด : 3.๒ ร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมในระดับดี
    80.00 80.00

    จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดี ทุกครั้ง จำนวน Care Giver ที่เข้ารง่มกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับดีทุกครั้ง

    3 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ 2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 3.๓ ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลจากผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
    100.00 100.00

    จำนวนผู้สงุอายุทีมีภาวะพึ่งพิงและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 90 คน ได้รับบริการเชิงรุก ตามแผนการพยบาล ทั้ง 90 คน คิดเป็น ร้อยละ 100

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280 280
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 280 280
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา (2) 2.2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต (3) 2.3 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกจากทีมสหวิชาชีพ 2.4 เพื่อส่งเสริมด้านอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบองค์รวม ปี 2562 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ( นางพรรณี พรหมอ่อน ) ประธาน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด