กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มป่วยและประชาชนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ และมีการปรับมีพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้นลดภาวะแทรกซ้อนลดโอกาสการเกิดโรค และระดับความรุนแรงของโรค
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้เพิ่มขึ้น หรือ มากกว่า 40 เปอร์เซนต์ 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงวบคุมได้เพิ่มขึ้น หรือ มากกว่า 50 เปอร์เซนต์
0.00

 

2 เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเป็นบุคคลตัวอย่างด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำสาธารณสุข อสม. มีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเป็นบุคคลตัวอย่างด้านสุขภาพ
0.00

 

3 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับบ้าน รับยาที่สถานใกล้บ้าน ได้รับติดตามเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่ ที่สะดวกและทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับ รับยาที่สถานที่ใกล้บ้าน ได้รับการติดตามเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่ ที่สะดวกและทั่วถึง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3422
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,071
กลุ่มผู้สูงอายุ 705
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 574
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครประจำครอบครัว 72

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มป่วยและประชาชนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ และมีการปรับมีพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้นลดภาวะแทรกซ้อนลดโอกาสการเกิดโรค และระดับความรุนแรงของโรค (2) เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเป็นบุคคลตัวอย่างด้านสุขภาพ (3) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน (4) เพื่อให้ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับบ้าน รับยาที่สถานใกล้บ้าน ได้รับติดตามเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่ ที่สะดวกและทั่วถึง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจง รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และจัดทำสื่อความรู้ (2) 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วย) ให้เกิดการเรียนรู้ (3) 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความตระหนัก (4) 4. ช่วยเหลือในการติดตามกลุ่มตรวจสุขภาพเจาะเลือดเส้นเลือดดำประจำปี (5) 5. เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนเท้าในกลุ่มป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh