กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในเด็กวัยเรียน บางปลาหมอ ปี 2562 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายเจะดาโอะ อุมาร์

ชื่อโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในเด็กวัยเรียน บางปลาหมอ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3065-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในเด็กวัยเรียน บางปลาหมอ ปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในเด็กวัยเรียน บางปลาหมอ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในเด็กวัยเรียน บางปลาหมอ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3065-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่เปลี่ยนไปจากเดิม จากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง สังคมแบบเศรษฐกิจพอเพียงเป็นสังคมที่ไม่รู้จักพอเพียง เพื่อปัจจัยสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในชีวิตประจำวัน ผลที่ตามมาทุกคนต้องทำงานอย่างหนักไม่มีเวลา ลืมในเรื่องของการดูแลสุขภาพ มองข้ามในเรื่องของภัยมืดที่คุกคามสุขภาพที่เกิดขึ้น เช่น ครอบครัวขาดความอบอุ่นเนื่องจากไม่มีเวลาอยู่ด้วยกันส่งผลต่อการระบาดยาเสพติดในพื้นที่ อัตราการเกิดโรคเรื้อรังมีสูงเนื่องจากพฤติกรรมของบุคคลที่ขาดการออกกำลังกาย บริโภคอาหารสำเร็จรูป เด็กมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษเนื่องปริมาณถุงพลาสติก หรือขยะที่ย่อยสลายยากเพิ่มปริมาณมากขึ้นทุกปี ฯลฯ   ภัยมืดดังกล่าวข้างต้น เป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วม ต้องช่วยกันป้องกันและแก้ไข ต้องใช้เวลาในการแก้ปัญหา และต้องบูรณาการร่วมกันในพื้นที่ ทางชมรมคนรักกีฬา หมู่ 8 บางปลาหมอ เป็นชมรมที่มีอยู่ในพื้นที่อยากเป็นส่วนหนึ่งสังคมในการป้องกันและแก้ไขภัยมืดที่คุกคามสุขภาพ เห็นว่าการส่งเสริมและปลูกฝังในเรื่องของกิจกรรมการออกกำลังกาย ขยับกายอย่างสม่ำเสมอตั้งแต่เด็กๆเป็นสิ่งที่ดี สามารถเชื่อมโยงให้ผู้ปกครองหันมาออกกำลังกาย และมองเห็นปัญหาที่เกิดในเด็กและเยาวชนในพื้นที่ปัจจุบันหลักๆดังนี้   1. เด็กมีภาวะเสี่ยงอ้วนสูง เนื่องจากกินขนมประเภทแป้ง น้ำตาล เยอะ และขาดการออกกำลังกาย   2. เด็กขาดทักษะชีวิตเนื่องจากสิ่งอำนวยความสะดวกที่พ่อแม่หาให้   3. เด็กมีความก้าวร้าว โลกส่วนตัวสูง เนื่องจากโทรศัพท์   จากเหตุผลดังกล่าวทางชมรมคนรักกีฬา หมู่ 8 บางปลาหมอ จึงมองเห็นว่าถ้าได้มีการส่งเสริมจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย ให้เด็กๆได้มารวมกลุ่มน่าจะเป็นสิ่งที่ดี และมองเห็นว่าทางกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เป็นกองทุนที่ใกล้ชิดกับประชาชนระดับรากหญ้า มีงบประมาณที่จะสนับสนุนแก้ไขปัญหาสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในเด็กวัยเรียน บางปลาหมอ ปี 2562 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักให้ความสำคัญกับกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวทางกาย
  2. เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มีความรู้ และมีภูมิคุ้มกันต่อภัยมืดที่คุกคามสุขภาพในปัจจุบัน
  3. เพื่อปลูกฝังกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย ให้แก่เยาวชนในพื้นที่ให้มีอย่างสม่ำเสมอ
  4. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการชมรมร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ
  2. จัดอบรมเรื่องภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเด็กวัยเรียนในปัจจุบัน
  3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กและเยาวชน(บูรณาการ การเล่นกีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล ตะกร้อ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ     3. จัดอบรมเรื่องภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเด็กวัยเรียน     4. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็น     5. สรุปผลการดำเนินงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการชมรมร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ

วันที่ 7 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

นัดประชุมโดยคณะกรรมการชมรมร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 40 คน

 

40 0

2. จัดอบรมเรื่องภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเด็กวัยเรียนในปัจจุบัน

วันที่ 14 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเรื่องภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเด็กวัยเรียนในปัจจุบัน เพื่อให้ความรู้และร่วมวางแผนการดำเนินงานและติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 100 คน
  • มีการพัฒนาศักยภาพด้านองค์ความรู้ ทักษะการสื่อสารของผู้เข้าร่วมอบรม

 

100 0

3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กและเยาวชน(บูรณาการ การเล่นกีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล ตะกร้อ)

วันที่ 11 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กและเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมลงรายชื่อกิจกรรมการเคลื่อนไหว จำนวน 100 คน
  • มีการส่งเสริมและปลูกฝังในเรื่องของกิจกรรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักให้ความสำคัญกับกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวทางกาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของประชาชนในพื้นที่ให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย
60.00 55.00

 

2 เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มีความรู้ และมีภูมิคุ้มกันต่อภัยมืดที่คุกคามสุขภาพในปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้และมีภูมิคุ้มกันต่อภัยมืดที่คุกคามสุขภาพในปัจจุบัน
80.00 80.00

 

3 เพื่อปลูกฝังกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย ให้แก่เยาวชนในพื้นที่ให้มีอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีการออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละไม่น้อยกว่า 30 นาที
80.00 80.00

 

4 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักให้ความสำคัญกับกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวทางกาย (2) เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้มีความรู้ และมีภูมิคุ้มกันต่อภัยมืดที่คุกคามสุขภาพในปัจจุบัน (3) เพื่อปลูกฝังกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย          ให้แก่เยาวชนในพื้นที่ให้มีอย่างสม่ำเสมอ (4) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการชมรมร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ (2) จัดอบรมเรื่องภัยมืดที่คุกคามสุขภาพเด็กวัยเรียนในปัจจุบัน (3) จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กและเยาวชน(บูรณาการ การเล่นกีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล ตะกร้อ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในเด็กวัยเรียน บางปลาหมอ ปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3065-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจะดาโอะ อุมาร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด