กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการเยาวชนคนรักสุขภาพ ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลลำใหม่ (นางสาวนาซอฟะห์ สาและ)

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนคนรักสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนคนรักสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนคนรักสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนคนรักสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4141-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่น เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาพที่ต้องพึ่งพาผู้ปกครอง ไปสู่สภาวะที่ต้องมีความรับผิดชอบและพึ่งพาตนเอง และเป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วุฒิภาวะทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม จึงนับว่าเป็นช่วงที่สำคัญมากช่วงหนึ่ง เนื่องจากเป็นช่วงรอยต่อระหว่างวัยเด็กและผู้ใหญ่ โดยเฉพาะช่วงแรกจะมีการเปลี่ยนแปลงมากมายเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย การเปลี่ยนแปลงทางบุคลิกภาพ การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะมีผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างวัยรุ่นด้วยกันเอง และบุคคลรอบข้าง การให้ความรู้และหลักการในการดูแลตนเองเข้าใจ    คนรอบข้าง เข้าใจสิ่งต่างๆ รอบตัว สามารถเลือกปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง และหลีกเลี่ยงจากอบายมุขรอบตัวได้ ก็จะสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข   ปัจจุบันสถานการณ์แนวโน้มปัญหาของวัยรุ่น ทั้งปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ตลอดจนพฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ เช่น ภาวะสมาธิสั้น การติดเกม อินเตอร์เน็ต ฯลฯ ที่ส่งผลต่อปัญหาสังคมที่รุนแรงเพิ่มขึ้น หากวัยรุ่นไม่ได้รับการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม
    สภาเด็กและเยาวชนตำบลลำใหม่ ซึ่งเป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านวิชาการ การศึกษา สุขภาพ และจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนในตำบล ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ การป้องกันโรค และพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆที่จะแพร่ระบาดเข้าสู่เยาวชน จึงได้จัดทำโครงการเยาวชนคนรักสุขภาพ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
  2. เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และสามารถป้องกันตนเองจากโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ
  3. เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
  2. เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และสามารถป้องกันตนเองจากโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ
  3. เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 12 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ จำนวน  2 วัน  ดังนี้               - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ : จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แกนนำเยาวชนในหัวข้อพัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น,การดูแลสุขภาพให้เหมาะสมตามช่วงวัย,การป้องกันโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆที่จะแพร่ระบาดเข้าสู่เยาวชน,การสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ,การเรียนรู้อาหารหลัก 5 หมู่,การหาค่าปริมาณน้ำตาลในผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
  2. เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และสามารถป้องกันตนเองจากโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ
  3. เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และสามารถป้องกันตนเองจากโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และสามารถป้องกันตนเองจากโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ
ตัวชี้วัด : เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และสามารถป้องกันตนเองจากโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ (3) เพื่อให้เยาวชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนคนรักสุขภาพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4141-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สภาเด็กและเยาวชนตำบลลำใหม่ (นางสาวนาซอฟะห์ สาและ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด