กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อใน ๗ ชุมชนเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
( นางกุศลี นิลพันธ์ ) ประธาน อสม. ชุมชนศาลาหัวยาง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อใน ๗ ชุมชนเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อใน ๗ ชุมชนเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อใน ๗ ชุมชนเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อใน ๗ ชุมชนเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ มีการระบาดต่อเนื่อง ซึ่งสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖1 ได้ทวีความรุนแรงและมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ ของชุมชน ๗ ชุมชน  เมื่อเข้าสู่ฤดูฝน ทำให้เหมาะแก่การขยายพันธุ์ของยุงลาย ซึ่งพื้นที่ภายในเขตเทศบาลนครสงขลานั้นได้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและยุงรำคาญ เนื่องจากมีประชากรที่หนาแน่นหลายพันครัวเรือน การปลูกอาคารบ้านเรือน    ที่หนาแน่น และชุมชนแออัด ส่งผลให้การดูแลทำความสะอาดถนน คูระบายน้ำ และพื้นที่สาธารณะต่างๆไม่ทั่วถึง  อีกทั้งขาดความร่วมมือเอาใจใส่จากประชาชนในชุมชน จึงก่อให้เกิดการแพร่พันธุ์ยุงลายในบริเวณกว้าง ทำให้มีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก ทุกกลุ่มอายุและทุกวัย โดยคาดว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยสูงขึ้นตลอดปี หากไม่มีการเร่งรัดป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก โดยเป้าหมายหลักคือ ต้องร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ของ ๗ ชุมชน (ท่าสะอ้าน, ศาลาหัวยาง, นอกสวน,หัวป้อม, วังเขียว - วังขาว,  หลังวัดอุทัยธาราม, สวนมะพร้าว) ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖1 ถึง วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖1 พบผู้ป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวน 118 ราย และค่าสำรวจลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน HI = ๙.45 และพบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ทั้ง ๗ ชุมชนเขตรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน 22 ราย ซึ่งมีแนวโน้มการระบาดของโรคกระจายไปทุกพื้นที่ใน ๗ ชุมชน จากปัญหาดังกล่าว คณะอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน ในส่วนรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุข    เตาหลวง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมีความเห็นร่วมกันที่จะให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน เป็นผู้มีบทบาทกระตุ้นเตือนชุมชนและร่วมกันกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องในชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง    และการสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน ร่วมกับศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จึงได้จัดทำโครงการโครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อใน ๗ ชุมชนในเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ ในชุมชน
  2. ๒. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 175
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ทั้ง ๗ ชุมชน มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออันส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคอื่น ๆ ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. กิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสทำความสะอาดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่าง ๆ ในชุมชนทั้ง ๗ ชุมชน ซึ่งจัดกิจกรรม จำนวน 2 ครั้ง ในวันที่ 18 มิถุนายน ๒๕๖2 และวันที่ 10 สิงหาคม 2562 ณ ชุมชนในเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 2. สรุปผลการดำเนินงานและประเมินผล

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ๑. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่น้อยว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
    0.00

    จากการดำเนินงาน ผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนทั้ง ๗ ชุมชน
    - ปี 2561 พบว่าจำนวนประชากรทั้ง ๗ ชุมชน จำนวน 7,596 คน มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑3 ราย คิดเป็น ๑71.14 ต่อประชากรแสนคน
    - ปี 2562 พบว่าจำนวนประชากรทั้ง ๗ ชุมชน จำนวน 7,๙๓๕ คน มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 8 ราย คิดเป็น ๑00.82 ต่อประชากรแสนคน
      เมื่อเทียบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง พบว่า มีจำนวนผู้ป่วย ปี2557 จำนวน 19 ราย ปี 2558 จำนวน 20 ราย ปี 2559 จำนวน 18 ราย ปี 2560 จำนวน 14 ราย และในปี 2561 จำนวน 13 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก    ปี 2562 มีจำนวน 8 ราย จึงน้อยกว่าค่ามัธยฐาน   ดังนั้น เมื่อเทียบจำนวนผู้ป่วย ปี ๒๕61 พบว่าจำนวนผู้ป่วย มี ๑3 ราย คิดเป็น ๐.๑7 และปี ๒๕๖2 จำนวนผู้ป่วย มี 8 ราย คิดเป็นร้อยละ ๐.๑0 ซึ่งมีจำนวนลดลง

    2 ๒. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ๒. ค่า HI < ๑๐
    10.00

    จากกิจกรรมสุ่มสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคทุก ๓ เดือน ดังนี้ - เดือน มี.ค. ๖2 พบว่าค่า HI = 9.98 - เดือน พ.ค. ๖2 พบว่าค่า HI = 9.41 - เดือน ก.ค. ๖2 พบว่าค่า HI = 8.26   จากการดำเนินงานทั้ง ๓ เดือน พบว่าค่า HI เฉลี่ย = 9.๒๑

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 175 175
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 175 175
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ    ในชุมชน (2) ๒. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อใน ๗ ชุมชนเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ( นางกุศลี นิลพันธ์ ) ประธาน อสม. ชุมชนศาลาหัวยาง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด