กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ตาดีกากือแด ใส่ใจสุขภาพอย่างยั่งยืน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรูไฮนี บือราเฮง

ชื่อโครงการ ตาดีกากือแด ใส่ใจสุขภาพอย่างยั่งยืน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3065-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ตาดีกากือแด ใส่ใจสุขภาพอย่างยั่งยืน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ตาดีกากือแด ใส่ใจสุขภาพอย่างยั่งยืน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " ตาดีกากือแด ใส่ใจสุขภาพอย่างยั่งยืน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3065-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการพัฒนาสุขภาพอนามัย ในปัจจุบันการปฏิรูปการศึกษาได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ การที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งร่างกายและจิตใจนั้น ย่อมส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน คณะกรรมการตาดีกา ม.7 บ้านกือแดได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการมีภาวะโภชนาการที่ดี ได้รับอาหารและน้ำดื่มที่ถูกสุขลักษณะ มีสุขภาพพลานามัย สมบูรณ์แข็งแรง ส่งผลดีต่อการเรียนรู้ และการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข โดยผ่านกระบวนการด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ทักษะ และเจตคติ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างสมดุล ยั่งยืน อันจะนำไปสู่การพัฒนานักเรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง สมบูรณ์ สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขในสังคมปัจจุบัน และสร้างเครือข่ายไปยังครอบครัว อันนำไปสู่การขับเคลื่อนการพัฒนา Smart ศูนย์ตาดีกากือแด ม.7 ใส่ใจสุขภาพอย่างยั่งยืน ตำบลตุยง  อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนและบุคลากร
  2. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากร ได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
  3. เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 1
  2. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กวัยเรียน บูรณาการ การเล่นฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล และตะกร้อ ฯลฯ
  3. คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 2
  4. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพในเด็กวัยเรียน
  5. คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน ในศูนย์เรียนรู้ตาดีกาได้รับการประเมินคัดกรองภาวะโภชนาการและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ในกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ                                              2. นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา เกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ                          3. เกิดกระแสการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ อันนำไปสู่การมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์สุขภาพดี ห่างไกลยาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 1

วันที่ 5 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • นัดกลุ่มเป้าหมายเด็กวัยเรียนและบุคลากร จำนวน 60 คน
  • เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนและบุคลากร
  • เพื่อให้นักเรียนและบุคลากร ได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมคัดกรอง จำนวน 60 คน
  • ทำให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

 

60 0

2. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กวัยเรียน บูรณาการ การเล่นฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล และตะกร้อ ฯลฯ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กและเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีเด็กและเยวชนเข้าร่วมกิจกรรม
  • มีการส่งเสริมและปลูกฝังในเรื่องของกิจกรรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

 

60 0

3. คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 2

วันที่ 7 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • นัดกลุ่มเป้าหมายเด็กวัยเรียนและบุคลากร จำนวน 60 คน
  • เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนและบุคลากร
  • เพื่อให้นักเรียนและบุคลากร ได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมคัดกรอง จำนวน 60 คน
  • ทำให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

 

60 0

4. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพในเด็กวัยเรียน

วันที่ 22 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพ และเรื่องคุณธรรมจริยธรรมการใช้ชีวิตประจำวันให้ปลอดภัยจากสิ่งคุกคามต่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 60 คน

 

60 0

5. คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 3

วันที่ 6 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • นัดกลุ่มเป้าหมายเด็กวัยเรียนและบุคลากร จำนวน 60 คน
  • เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนและบุคลากร
  • เพื่อให้นักเรียนและบุคลากร ได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมคัดกรอง จำนวน 60 คน
  • ทำให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนและบุคลากร
ตัวชี้วัด : นักเรียนตาดีกา ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95
95.00 85.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากร ได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนตาดีกา มีความรู้การดูแลสุขภาพ ร้อยละ 95
95.00 85.00

 

3 เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของนักเรียนตาดีกา มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง
95.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนและบุคลากร (2) เพื่อให้นักเรียนและบุคลากร ได้มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ (3) เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 1 (2) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย  จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กวัยเรียน บูรณาการ การเล่นฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล และตะกร้อ ฯลฯ (3) คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 2 (4) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพในเด็กวัยเรียน (5) คัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนและบุคลากร ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ตาดีกากือแด ใส่ใจสุขภาพอย่างยั่งยืน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3065-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรูไฮนี บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด