กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง (ชุมชนศาลาหัวยาง) ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
( นางกุศลี นิลพันธ์ ) ประธาน อสม. ชุมชนศาลาหัวยาง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง (ชุมชนศาลาหัวยาง)

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-2-62 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง (ชุมชนศาลาหัวยาง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง (ชุมชนศาลาหัวยาง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง (ชุมชนศาลาหัวยาง) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-2-62 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันทั่วโลกกำลังให้ความสนใจและใช้ความพยายามในการลดภาวะความรุนแรงของโรคเรื้อรัง และโรควิถีชีวิตโดยมุ่งเน้นที่จะป้องกันควบคุมสหปัจจัยเสี่ยง เช่น ลดการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา จัดการอารมณ์ การส่งเสริมด้านพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ ส่งเสริมการออกกำลังกาย เน้นการเคลื่อนไหวการใช้แรงกายซึ่งตัวประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย สามารถปฏิบัติตนในการส่งเสริมสุขภาพที่กล่าวมา รวมทั้งมีการเฝ้าระวังและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยการคัดกรองความเสี่ยง มีการสร้างความตระหนักของมหันตภัยร้ายของโรคพร้อมกับมาตรวจสุขภาพ การตรวจรักษาโรคในกลุ่มป่วยอย่างต่อเนื่อง ลดความเสี่ยงการเกิดโรครายใหม่        ลดภาวะแทรกซ้อนและค่าใช้จ่ายของครอบครัว จากการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทั้ง 7 ชุมชน ในเขตรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ตรวจวัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว ปี 2561 พบว่า กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 3,129 คน รับยา จำนวน 565 คน คิดเป็นร้อยละ 18.05 และได้มีกลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 2.74 กลุ่มเสี่ยงสูงมาก จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 0.67 ได้มีการจัดกลุ่มเรียนรู้ 3 อ. 2 ส. ติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงโดย อสม. และกลุ่มเสี่ยงสูงมากส่งต่อพบพยาบาลศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ในการนี้ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทั้ง 7 ชุมชน เห็นความสำคัญที่จะคัดกรองสุขภาพ    เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  2. ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1,000
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ทั้ง ๗ ชุมชน มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพการป้องกันควบคุมคุมโรคติดต่ออันส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก และโรคติดต่อลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมการคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน 7 ชุมชน ระหว่างวันที่ 1 – ๑0 มิถุนายน 2562
    2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ จำนวน 3 ครั้ง -  ครั้งที่ 1 ติดตาม วันที่ 27 พฤษภาคม 2562 ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง -  ครั้งที่ 2 ติดตาม วันที่ 14 กรกฎาคม 2562 ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง -  ครั้งที่ 3 ติดตาม วันที่ 19 สิงหาคม 2562 ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ๑. ประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพร้อยละ 90
    90.00 97.14
    • ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปทั้งหมด 3,782 ราย ได้รับการคัดกรองสุขภาพ จำนวน 3,674 ราย  คิดเป็นร้อยละ 97.14
    2 ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ๒. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80
    80.00 98.21
    • กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังจำนวน 112 ราย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน  110 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.21

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000 1000
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1,000 1,000
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (2) ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง (ชุมชนศาลาหัวยาง) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-2-62

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ( นางกุศลี นิลพันธ์ ) ประธาน อสม. ชุมชนศาลาหัวยาง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด