กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 5 มิ.ย. 2560 5 มิ.ย. 2560

 

  1. ตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนักและที่วัดส่วนสูง และขอสนับสนุนกองทุนฯ เพื่อจัดหา
  2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในชุมชน
  3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็กสีชมพู
  4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ
  5. เชิญผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ รพ.สต. มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)

- ความสำคัญของอาหาร อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กอ้วน อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม - วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก - ความสำคัญของการเล่นและลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง - การเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก 6. จัดซื้ออาหารเสริม (นม) ให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ 7. ติดตามเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง จนครบ 3 - 6 เดือน และแนะนำผู้ปกครองให้ดำเนินการต่อเนื่อง 8. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

 

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการแก้ปัญหาน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ จำนวน 22 คน คิดเป็น ร้อยละ 100
    • เด็กที่มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 5 คน
    • เด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 7 คน
    • เด็กที่มีน้ำหนักดีขึ้นตามเกณฑ์ 10 คน

 

จัดมุมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในสถานบริการ 5 มิ.ย. 2560 5 มิ.ย. 2560

 

จัดมุมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในสถานบริการ

 

  • มีมุมพัฒนาการเด็กในสถานบริการ
  • ไม่พบเด็กพัฒนาการล่าช้า

 

กิจกรรมจัดทำ Focus group ครั้งที่ 1 8 มิ.ย. 2560 8 มิ.ย. 2560

 

  1. ตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนักและที่วัดส่วนสูง และขอสนับสนุนกองทุนฯ เพื่อจัดหา
  2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในชุมชน
  3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็กสีชมพู
  4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ
  5. เชิญผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ รพ.สต. มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)

- ความสำคัญของอาหาร อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กอ้วน อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม - วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก - ความสำคัญของการเล่นและลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง - การเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก - ทำ Focus group เรื่องการแก้ไขปัญหาโภชนาการในเด็กที่มีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

 

มีการจัดสนทนากลุ่มแก่ผู้ปกครองเรื่องภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามวัยเด็กแรกเกิด 0- 5 ปี ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการให้สมวัย

 

กิจกรรมจัดทำ Focus group ครั้งที่ 2 10 มิ.ย. 2560 10 ก.ค. 2560

 

  1. ตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนักและที่วัดส่วนสูง และขอสนับสนุนกองทุนฯ เพื่อจัดหา
  2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในชุมชน
  3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็กสีชมพู
  4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ
  5. เชิญผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ รพ.สต. มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)

- ความสำคัญของอาหาร อาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กอ้วน อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม - วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก - ความสำคัญของการเล่นและลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง - การเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก - ทำ Focus group เรื่องการแก้ไขปัญหาโภชนาการในเด็กที่มีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

 

มีการสนมนากลุ่มแก่ผู้ปกครองเรื่องภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้สมวัย

 

กิจกรรมจัดทำ Focus group ครั้งที่ 3 12 ต.ค. 2563