กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ


“ โครงการเยาวชนสะเอะห่างไกลเอดส์ตามหลักศาสนาอิสลาม ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอิบรอเฮง บือแน

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนสะเอะห่างไกลเอดส์ตามหลักศาสนาอิสลาม

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4114-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2562 ถึง 1 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนสะเอะห่างไกลเอดส์ตามหลักศาสนาอิสลาม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนสะเอะห่างไกลเอดส์ตามหลักศาสนาอิสลาม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนสะเอะห่างไกลเอดส์ตามหลักศาสนาอิสลาม " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4114-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2562 - 1 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เอดส์ เป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรมนุษย์ และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ยัง ขาดภูมิคุ้มกัน และทักษะในการดำเนินชีวิตภายใต้สภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมในยุคปัจจุบัน โดยมาตรการที่จะหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มเยาวชนได้อย่างแท้จริงและ มีความยั่งยืนประการหนึ่งคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยง
จากข้อมูล สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เมื่อสิ้นปี พ.ศ.๒๕๖1 จากการคาดประมาณสถานการณ์การแพร่ระบาดของHIV/AIDS พบผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน ๒,๒๐๕ คน เป็นเพศชาย ๑,๗๑๖ คน เพศหญิง ๔๘๙ คน แยกเป็น กลุ่มอายุ ๒๕ ปีขึ้นไป ๙๘๔ คน อายุน้อยกว่า ๒๕ ปี ๑,๒๒๑ คน หากจำแนกตามเพศ แยกเป็นกลุ่มอายุ ๒๕ ปีขึ้นไปเพศหญิง ๑๔๒ คน กลุ่มอายุ ๒๕ ปีขึ้นไปเพศชาย ๘๔๒ คน อายุน้อยกว่า ๒๕ ปี เพศหญิง ๓๔๗ คน และอายุน้อยกว่า ๒๕ ปี เพศชาย ๘๗๔ คน ส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ร้อยละ ๖๗.๘ (๑,๔๙๖ คน) รองลงมาคือ กลุ่มภรรยาติดเชื้อจากสามี ร้อยละ ๑๗.๖ (๓๘๗ คน) และกลุ่มพนักงานบริการ ร้อยละ ๕.๓ (๑๑๖ คน) ทั้งนี้จะเห็นว่า ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่นั้น เป็นกลุ่มเยาวชนอายุน้อยกว่า ๒๕ ปี ถึงร้อยละ ๕๕.๔ (๑,๒๒๑ คน) แม้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเอดส์จะมีมาอย่างต่อเนื่อง แต่ผู้ติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มเยาวชนก็ยังคงมีอัตราสูง การให้ความรู้ความเข้าใจแก่เด็กและเยาวชนเรื่องโรคเอดส์ยังคงเป็นมาตรการที่ต้องดำเนินการเผยแพร่แลประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลุกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนผลกระทบต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น       ชมรมตาดีกาตำบลสะเอะ ได้ตระหนักถึงปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การระบาดของโรคเอดส์กับเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เพื่อให้การดำเนินงานการสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ในเด็กและเยาวชน จึงได้จัดโครงการรู้เรื่องเพศ ห่างไกลเอดส์ ด้วยทักษะการป้องกันแก่เด็กและเยาวชน เพื่อมุ่งเน้นให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการป้องกันตนเอง และเกิดพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากเอดส์ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  2. เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกและทัศนคติที่ดีในการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  3. เพื่อสร้างทักษะในการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่นวกับโรคเอดส์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เยาวชนเกิดทัศนคติที่ดี และมีทักษะในการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเกิดพฤติกรรมการป้องกันตนเองและสังคมจากโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ๒ เยาวชนผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ และทักษะที่ได้รับจากการอบรมไปเผยแพร่ให้แก่บุคคลอื่นใกล้ชิด หรือผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่นวกับโรคเอดส์

วันที่ 31 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 130 คน ได้เข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีจิตสำนึกและทัศนคติที่ดีในการป้องกันโรคเอดส์มีทักษะในการป้องกัน รวมทั้งเข้าใจบทบาทมุสลิมในการแก้ไขปัญหาโรคเอดส์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชมรมตากามีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการได้อย่างมืออาชีพ เกิดเครือข่ายในการป้องกันปัญหาโรคเอดส์ ในชุมชน

 

130 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกและทัศนคติที่ดีในการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสร้างทักษะในการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกและทัศนคติที่ดีในการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (3) เพื่อสร้างทักษะในการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่นวกับโรคเอดส์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนสะเอะห่างไกลเอดส์ตามหลักศาสนาอิสลาม จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4114-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอิบรอเฮง บือแน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด