กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา


“ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสาโรช เจริญฤทธิ์

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1513-02-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2562 ถึง 20 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1513-02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2562 - 20 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,105.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันซึ่งความรุนแรงของโรคสามารถทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำเชื้อมาสู่คน โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงลอย ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ซึม อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และตับโตร่วมด้วย โดยในผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการรุนแรงถึงกับมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆในร่างกาย ทำให้ช็อก และเสียชีวิตได้ ซึ่งโรคนี้สามารถเป็นได้ในทุกกลุ่มอายุ โดยพบว่ามีการระบาดได้เกือบตลอดทั้งปี แต่มักจะมีการระบาดรุนแรงในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน - สิงหาคม ของทุกปี ถึงแม้ว่าจะมีการรณรงค์ให้มีการป้องกันควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันแต่ก็ยังพบว่ามีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและมีแนวโน้มสูงขึ้นในทุกปีซึ่งปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้เกิดการระบาดและขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวางรวดเร็ว ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การเคลื่อนย้ายประชากร จำนวนยุงลายที่เพิ่มมากขึ้นตามภาชนะน้ำขังที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ การคมนาคมติดต่อสะดวกรวดเร็ว ซึ่งการรณรงค์ให้ประชาชนร่วมกันกำจัดยุงลายโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคได้ จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - ๒๖ ธันวาคม    25๖๑ ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๘๑,๔๘๙ ราย อัตราป่วย ๑๒๓.๓๖ ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน ๑๐๗ ราย อัตราป่วย-ตายร้อยละ 0.1๓ จังหวัดตรังอยู่ลำดับที่ ๔๑ ของประเทศ โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๖๒๓ ราย อัตราป่วย ๙๖.๘๘ ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน ๒ ราย และสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลควนเมา พบว่า มีผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๒๕ ราย และผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก จำนวน ๓ ราย จากข้อมูลดังกล่าว พบว่า พื้นที่ตำบลควนเมาเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคไข้เลือดออก จึงต้องมีการเตรียมการเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างเข้มข้น โดยใช้มาตรการที่หลากหลาย ได้แก่ การกำจัดพาหะนำโรค ปรับปรุงสภาพแวดล้อม และป้องกันไม่ให้ยุงกัด ซึ่งการควบคุมโรคนั้นจำเป็นจะต้องทำอย่างต่อเนื่อง และอาศัยการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่ายทั้งภาครัฐ และเอกชนจึงจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก” เพื่อลดอัตราป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกและกำจัดยุงลายไม่ให้มีการแพร่เชื้อหรือขยายพันธุ์ต่อไปได้อีกภายในพื้นที่ตำบลควนเมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้
  2. พ่นหมอกควัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หมู่บ้านในพื้นที่ตำบลควนเมามีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่า ๑๐
  2. ทำให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  3. ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออก
  4. สามารถควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ (2) พ่นหมอกควัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1513-02-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสาโรช เจริญฤทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด