กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนตุปะร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 62-L2974-2-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนตุปะ
วันที่อนุมัติ 13 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 สิงหาคม 2562 - 16 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 5,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮาซีนี ฮายอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กนักเรียนที่ยังขาดความรู้เรื่องการป้องกันไข้เลือดออก
87.00
2 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่สามารถลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
87.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของนักเรียนและคณะครู พร้อมด้วยผู้ปกครอง นักเรียน

สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของนักเรียนและคณะครู พร้อมด้วยผู้ปกครอง นักเรียน

87.00 70.00
2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

87.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 5,300.00 0 0.00
??/??/???? โครงการโรงเรียนตุปะร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง มุ่งป้องกันไข้เลือดออก 0 5,300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนโรงเรียนตุปะลดเแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายภายในโรงเรียน 2.เด็กนักเรียนโรงเรียนตุปะสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในบริเวณโรงเรียน บ้านเรือน 3.สามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2562 00:00 น.