กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการร้านชำคุณภาพ เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางศจีรัตน์ หลีวิจิตร

ชื่อโครงการ โครงการร้านชำคุณภาพ เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-01-017 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 20 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านชำคุณภาพ เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านชำคุณภาพ เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านชำคุณภาพ เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-01-017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2562 - 20 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนหันมาให้ความสนใจกับสุขภาพมากขึ้น ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลายเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดอย่าง หนึ่งในการดำรงชีวิต ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าและผลิตภัณฑ์สุขภาพประเภทต่างๆให้แก่ผู้บริโภคในชุมชนซึ่งง่ายและสะดวกในการจับจ่ายใช้สอยและบริโภคสินค้าไม่ว่าจะเป็นอาหาร ยาเครื่องสำอาง หรือของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพ แต่สถานการณ์ปัจจุบันพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานในร้านชำ การแสดงฉลาก ภาชนะบรรจุภัณฑ์ที่ไม่ถูกต้องครบถ้วนอีกทั้งปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการขายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน เช่น เครื่องสำอางครีมหน้าขาว อาหารเสริมประเภทต่างๆ ปัญหาจากการขายยาชุด ยาอันตราย ยาแผนโบราณ  ที่ลักลอบใส่สารสเตียรอยด์ นอกจากนี้การโฆษณาสรรพคุณโอ้อวดเกินจริงในสื่อออนไลน์ที่มีช่องทางหาซื้อได้ง่าย และมีผลิตภัณฑ์กระจายอยู่ในชุมชนเป็นจำนวนมาก อาจทำให้มีผู้ป่วยที่ได้รับอันตรายและผลข้างเคียงจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเหล่านี้เพิ่มขึ้น

เทศบาลเมืองพัทลุงมีร้านขายของชำในหมู่บ้านจำนวนมากประกอบกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีสื่อที่ทันสมัยการโฆษณาชวนเชื่อที่เข้าถึงง่ายและมีการจัดส่งรวดเร็ว เพิ่มความสะดวกในการชื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ  เกิดการปรับตัวและแข่งขันทางธุรกิจของร้านชำ ที่พยายามตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยาหรือของใช้ต่างๆ เครื่องอุปโภค บริโภค ซึ่งหากผู้บริโภคและผู้ประกอบการในพื้นที่ยังมีความเชื่อ ความเข้าใจที่ผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกชื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตรายจากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย โดยสถานการณ์ข้างต้นจะเห็น  ได้ว่าผู้บริโภคในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ก็มีความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากอาหารและยากลุ่มเสี่ยง ที่ไม่ปลอดภัย เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคเทศบาลเมืองพัทลุงจึงเล็งเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวัง กำกับดูแล และพัฒนาคุณภาพร้านขายของชำในหมู่บ้านจึงได้จัดทำ“โครงการร้านชำคุณภาพปีงบประมาณ 2562”ที่มีรูปแบบของการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคอย่าง  บูรณาการของภาคีเครือข่ายสุขภาพทั้งท้องถิ่น ภาครัฐ และภาคประชาชนที่ดึงพลังของ อสม., ผู้นำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานเพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้และมีทักษะในการเลือกชื้อสินค้าที่มีคุณภาพ และพัฒนาศักยภาพ เพิ่มความรู้ผู้ประกอบการร้านชำสู่การเลือกจำหน่ายสินค้าอย่างปลอดภัย และมีคุณภาพ ทั้งผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางและจำหน่ายยาเฉพาะยาสามัญประจำบ้าน ได้ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐานส่งผลให้ผู้บริโภคในพื้นที่มีความปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการและให้ความรู้แก่ ผู้ประกอบการร้านชำ และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  2. ร้านชำในพื้นที่ได้รับการประเมิน สำรวจการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  3. ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ประกอบการร้านชำและ อสม.
  3. ตรวจสอบและประเมินร้านชำ
  4. คัดเลือกร้านชำคุณภาพ
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้นและสามารถเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานมาจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้ส่งผลให้ผู้บริโภคในพื้นที่ใช้สินค้าอุปโภคและบริโภคที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

2 ผู้ประกอบการมีความรู้เรื่องประเภทของยา แต่ละชนิด และสามารถเลือกจำหน่ายเฉพาะยาสามัญประจำบ้านได้

3 เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค สามารถให้ความรู้ และคำแนะนำและมีส่วนร่วมในการในเฝ้าระวังป้องกันผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำในพื้นที่ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน

 

0 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ประกอบการร้านชำและ อสม.

วันที่ 1 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจร้านชำ ให้ความรู้ผู้ประกอบการ
อบรม อสม.และเครือข่ายสุขภาพ ตรวจประเมินร้าน รอบ 2 ร่วมกับ อสม.ในพื้นที่ อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านชำ คัดเลือกร้านชำคุณภาพและมอบเกียรติบัตรให้แก่ร้านชำคุณภาพต้นแบบของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำรวจร้านชำ ให้ความรู้ผู้ประกอบการ
อบรม อสม.และเครือข่ายสุขภาพ ตรวจประเมินร้าน รอบ 2 ร่วมกับ อสม.ในพื้นที่ อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านชำ คัดเลือกร้านชำคุณภาพและมอบเกียรติบัตรให้แก่ร้านชำคุณภาพต้นแบบของชุมชน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อบรมเชิงปฏิบัติการและให้ความรู้แก่ ผู้ประกอบการร้านชำ และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : มากกว่าร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านชำและอสม.เป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน (ทดสอบความรู้ก่อนและหลังฝึกอบรม)
80.00 82.50

 

2 ร้านชำในพื้นที่ได้รับการประเมิน สำรวจการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้านชำในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงได้รับการประเมินและตรวจร้านชำไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
80.00 100.00

 

3 ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพมากกว่า ร้อยละ 80
80.00 86.90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 145
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 145
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการและให้ความรู้แก่ ผู้ประกอบการร้านชำ และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ (2) ร้านชำในพื้นที่ได้รับการประเมิน สำรวจการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ (3) ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ประกอบการร้านชำและ อสม. (3) ตรวจสอบและประเมินร้านชำ (4) คัดเลือกร้านชำคุณภาพ (5) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร้านชำคุณภาพ เทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-01-017

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศจีรัตน์ หลีวิจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด