กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการบริหารจัดการขยะและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจุฑามาศ ทองฤทธิ์นุ่น

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-02-016 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการขยะและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการขยะและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการขยะและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-02-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 105,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบบ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย 3 ปีที่ผ่านมาพบว่า ปี 2559 มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกดังนี้ ชุมชนบ่อนเมา 3 ราย ชุมชนตำนานนิเวศน์ 6 ราย ชุมชนจ้ายเจริญ 1 ราย ปี 2560 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกชุมชนนางลาด 1 ราย ชุมชนตำนานนิเวศน์ 1 ราย และในปี 2561 พบ ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกชุมชนบ่อนเมา 11 ราย และชุมชนจ้ายเจริญ 1 ราย ซึ่งพื้นที่ทั้ง 5 ชุมชนนี้ เป็นชุมชนที่มีพื้นที่ใกล้เคียงกัน ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัยในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิดการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ต้องสะอาดถูกสุขลักษณะ จึงทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะธุ์โรค ซึ่งการปรับปรุงและควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม รวมทั้งการจัดการขยะมูลฝอยจากครัวเรือนและชุมชนเป็นสิ่งที่ประชาชนทุกคนทำได้ ปฎิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละคนแต่ละหลังคาเรือน ชุมชนใดที่มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชนให้มีความสะอาด มีการจัดการขยะมูลฝอยทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป อย่างถูกต้อง มีการคัดแยก และนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ โดยใช้หลัก 3 Rs (Reduce Reuse Recycle) หรือใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ ถือว่าเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่แข็งแรงไม่เจ็บป่วย ชุมชนบ้านบ่อนเมา,ชุมชนบ้านตำนานนิเวศน์,ชุมชนวัดประดู่หอม,ชุมชนบ้านนางลาดและชุมชนบ้านจ้ายเจริญ มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงร่วมกันจัดทำ”โครงการบริหารจัดการขยะและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน”ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาด ร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน รวมทั้งมีการจดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนอย่างถูกต้อง แลถูกสุขลักษณะ ส่งผลให้ลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย หรือแหล่งก่อโรค ทำให้ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการขยะในครัวเรือนตามความเหมาะสมและถูกสุขลักษณะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้*
  3. การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน*
  4. กิจกรรมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  5. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
  6. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน
  7. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี

2.มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

3.ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน

วันที่ 24 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน กำหนดวันจัดกิจกรรม

 

50 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 13 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ การจัดการขยะ ลดโรคติดต่อในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมอบรมให้ความรู้กิจกรรมอบรมให้ความรู้ การจัดการขยะ ลดโรคติดต่อในชุมชน

 

190 0

3. การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน

วันที่ 30 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน

 

190 0

4. กิจกรรมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

วันที่ 31 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

 

0 0

5. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 31 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย หรือแหล่งก่อโรค ทำให้ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 80
80.00 -8.33

 

2 เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการขยะในครัวเรือนตามความเหมาะสมและถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกขยะถูกวิธี
80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190 190
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190 190
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย หรือแหล่งก่อโรค ทำให้ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการขยะในครัวเรือนตามความเหมาะสมและถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้* (3) การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน* (4) กิจกรรมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (5) กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย (6) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน (7) ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการขยะและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-02-016

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุฑามาศ ทองฤทธิ์นุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด