กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรค
รหัสโครงการ 62-L4131-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มอสม. หมู่ 2
วันที่อนุมัติ 11 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2562 - 30 มิถุนายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 กรกฎาคม 2562
งบประมาณ 15,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮัซนะห์ สาและโอ๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.963,101.398place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยโรคที่เกี่ยวกับโรคติดต่อโดยยุง เป็นพาหะนำโรคของประเทศมานานแล้ว เนื่องจากที่เกิดการระบาดของโรคเหล่านี้ เช่น โรคไข้เลือดออก ชิกกุนยา โดยมียุงเป็นพาหะนำโรคเหล่านี้ เช่นโรคไข้เลือดออกที่มีการเกิดระบาดทุกปีในช่วงฤดูฝนที่เกิดจากยุงเป็นพาหะนำโรค โดยมีตัวเลขดังนี้ในพุทธศักราช ของไข้เลือดออก ปี พ.ศ. 2557 จำนวนผู้ป่วย 9 ราย ปี พ.ศ. 2558 ผู้ป่วย 3 ราย ปี พ.ศ. 2559 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก 3 ราย ปี พ.ศ. 2560 มีผู้ป่วย 4 ราย จนกระทั้ง มาถึง พ.ศ. 2561 มีผู้ป่วย 2 ราย(ในปี พ.ศ. 2561 ) พบผู้ป่วย 2 ราย คิดเป็น 23.76 ต่อแสนประชากร ด้วยการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคจำเป็นต้องระดมความร่วมมือทุกหน่วยที่เกี่ยวข้องในการอบรมให้ความรู้ของโรคที่เกี่ยวกับโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรค เพื่อชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคเหล่านี้ได้ จำเป็นต้องให้ความร่วมมือแก้ปัญหาของโรค     ตำบลอัยเยอร์เวง เป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยที่เกี่ยวกับโรคติดต่อ ที่มียุงเป็นพาหะนำโรค ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ปัญหาของโรคนี้ได้ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการอบรมให้ความรู้และสาธิตนวัตกรรม การป้องกันโรคให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพตลอดจนตระหนักให้ประชาชนมีพลังความคิด ความร่วมมือ ของโรคที่เกี่ยวกับโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรคได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรค

ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรค

80.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรค

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรคลดลงจากปีก่อนหน้า

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 15,450.00 1 15,450.00
28 มิ.ย. 62 กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิตนวัตกรรมป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรค 50 15,450.00 15,450.00
  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ   2. ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง   3. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนและเตรียมการดำเนินงาน
      4. ประชาสัมพันธ์ประชาชนเข้าร่วมโครงการ   5. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิตนวัตกรรมการป้องกันยุง   6. ติดตามประเมินผล   7. สรุปผลดำเนินงานตามโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะนำโรคได้   2. ประชาชนเห็นความสำคัญ มีความรู้จากการเข้ารับการอบรมและสามารถนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ได้   3. สามารถป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยยุงเป็นพาหะนำโรคได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2562 17:13 น.