โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาซียะห์ หะยีสาแม็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กรกฎาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4131-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4131-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อประชาชนในทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย มักพบปัญหาทางด้านสุขภาพเสมอ และปัญหาที่พบมากที่สุดคือ โรคฟันผุ ซึ่งความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหาร เด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องสุขภาพ โดยเฉพาะโรคฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักจะเริ่มเกิดขึ้นกับเด็กตั้งแต่ช่วงอนุบาลเป็นส่วนมาก
โรงเรียนตาดีกาดารุสสลาม บ้านกอซี ม.8 ต.อัยเยอร์เวง เป็นโรงเรียนตาดีกาขนาดใหญ่ มีนักเรียน 145 คน ซึ่งเด็กๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่แล้วไม่ค่อยชอบแปรงฟัน และชอบกินอาหารขบเคี้ยวและขนมหวานทำให้นักเรียนส่วนใหญ่ฟันผุ และมักจะพบนักเรียนมีอาการปวดฟันในเวลาเรียนบ่อย และยังลามเป็นโรคในช่องปาก และทางเดินหายใจอีกด้วย เช่น ต่อมทอนซิลอักเสบ เป็นต้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้นักเรียนต้องหยุดการเรียนเป็นเวลาหลายวัน
การให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องความสำคัญของฟัน สาเหตุสำคัญที่ทำให้ฟันเสีย และวิธีการรักษาสุขภาพฟัน รวมทั้งการสร้างทัศนคติที่ดี สร้างสิ่งแวดล้อมให้รักฟัน จึงเป็นเรื่องจำเป็นอันดับต้นๆ ที่ทางโรงเรียนต้องดำเนินการจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องดังกล่าวแก่นักเรียน และหลังจากนั้นจัดบรรยากาศการรักฟันขึ้นที่โรงเรียนเป็นกิจกรรมต่อเนื่องตลอดไปในทุกวันเสาร์-อาทิตย์หลังรับประทานอาหาร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของการเกิดโรคฟัน และวิธีการดูแลสุขภาพฟัน
- เพื่อสร้างทัศนคติที่ดี และสร้างบรรยาศให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ที่อบรมดูแลสุขภาพฟันของตัวเองในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
- กิจกรรมสร้างบรรยากาศการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
11.1. นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพช่องปากดีขึ้นเนื่องจากมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลรักษาฟันจากการได้รับความรู้จากการอบรม ถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของฟันเสีย และรู้จักวิธีดูแลฟันด้วยตัวเอง
11.2. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ดูแลรักษาสุขภาพฟันได้ด้วยตนเองในชีวิตประจำวัน
11.3. นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมบางอย่างอันเป็นสาเหตุของฟันผุ เช่นหลีกเลี่ยงการกินอาหารที่เป็นสาเหตุของฟันผุมากเกินไป3
11.4. นักเรียนสามารถแพร่ความรู้ที่ตัวเองได้รับสู่เพื่อนๆ และน้องๆที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ เพื่อร่วมกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันในวันเปิดทำการเรียน
11.5. ทางโรงเรียนสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่องคือกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
วันที่ 8 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ช่วงเช้า) วิทยากรจากสาธารณสุข
- ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของฟัน
- สาเหตุการเกิดฟันผุ และโรคอื่นๆที่เกิดจากฟันผุ และกิจกรรมถามตอบ
- ให้ความรู้เรื่องวิธีการป้องกันฟันผุ และกิจกรรมถามตอบพร้อมของรางวัล
2) กิจกรรมอบรมเพิ่มทักษะ (ช่วงบ่าย ) วิทยากรจากสาธารณสุข
- ให้ความรู้เรื่องวิธีการแปรงฟันให้ถูกวิธี และสาธิตโดยวิทยากร พร้อมกิจกรรมถามตอบ
- ให้กลุ่มเป้าหมายฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้ถูกวิธี ดูแลโดยวิทยากร และครูสอน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพช่องปากดีขึ้น
80
0
2. กิจกรรมสร้างบรรยากาศการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
วันที่ 13 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
- สังเกตจำนวนนักเรียนและประสิทธิภาพในการร่วมกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร
กลางวัน จะตอบโจทย์ ทัศนคติที่ดีของนักเรียนต่อการดูแลรักษาฟัน
- สุ่มตรวจความสะอาดของฟันขณะเข้าแถวตอนเช้าโดยครูผู้สอน จะตอบโจทย์นักเรียน
สามารถนำความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรมนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันที่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- หลังจากสิ้นสุดโครงการฟันสวย ด้วยมือเรา มีการติดตามการแปรงฟันของนักเรียน ทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ ของทุกสัปดาห์ในช่วงมีการเรียนการสอน ดูแลโดยครูตาดีกาดารุสสลาม จะประเมินโดยการสังเกตและการแปรงฟันของนักเรียน จำนวน 90 คน ประมาณ 80 คน นักเรียนส่วนใหญ่ทำการแปรงฟันทุกครั้งก่อนทำการละหมาดซุฮรี ส่วนอีกที่เหลือนักเรียนบางคนลืมพาแปรงสีฟัน
- กิจกรรมนี้จะเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง จะทำทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ ทุกสัปดาห์ในช่วงการเรียนการสอน
80
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของการเกิดโรคฟัน และวิธีการดูแลสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เรื่องความสำคัญ สาเหตุ และวิธีการดูแลสุขภาพฟันเพิ่มขึ้น
80.00
88.89
2
เพื่อสร้างทัศนคติที่ดี และสร้างบรรยาศให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ที่อบรมดูแลสุขภาพฟันของตัวเองในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีทัศนคติที่ดีและ สามารถดูแลรักษาสุขภาพฟันได้ด้วยตนเอง
80.00
88.89
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
110
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
80
110
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของการเกิดโรคฟัน และวิธีการดูแลสุขภาพฟัน (2) เพื่อสร้างทัศนคติที่ดี และสร้างบรรยาศให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ที่อบรมดูแลสุขภาพฟันของตัวเองในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง (2) กิจกรรมสร้างบรรยากาศการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4131-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวพาซียะห์ หะยีสาแม็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาซียะห์ หะยีสาแม็ง
กรกฎาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4131-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4131-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อประชาชนในทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย มักพบปัญหาทางด้านสุขภาพเสมอ และปัญหาที่พบมากที่สุดคือ โรคฟันผุ ซึ่งความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหาร เด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่น ขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องสุขภาพ โดยเฉพาะโรคฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักจะเริ่มเกิดขึ้นกับเด็กตั้งแต่ช่วงอนุบาลเป็นส่วนมาก
โรงเรียนตาดีกาดารุสสลาม บ้านกอซี ม.8 ต.อัยเยอร์เวง เป็นโรงเรียนตาดีกาขนาดใหญ่ มีนักเรียน 145 คน ซึ่งเด็กๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่แล้วไม่ค่อยชอบแปรงฟัน และชอบกินอาหารขบเคี้ยวและขนมหวานทำให้นักเรียนส่วนใหญ่ฟันผุ และมักจะพบนักเรียนมีอาการปวดฟันในเวลาเรียนบ่อย และยังลามเป็นโรคในช่องปาก และทางเดินหายใจอีกด้วย เช่น ต่อมทอนซิลอักเสบ เป็นต้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้นักเรียนต้องหยุดการเรียนเป็นเวลาหลายวัน
การให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องความสำคัญของฟัน สาเหตุสำคัญที่ทำให้ฟันเสีย และวิธีการรักษาสุขภาพฟัน รวมทั้งการสร้างทัศนคติที่ดี สร้างสิ่งแวดล้อมให้รักฟัน จึงเป็นเรื่องจำเป็นอันดับต้นๆ ที่ทางโรงเรียนต้องดำเนินการจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องดังกล่าวแก่นักเรียน และหลังจากนั้นจัดบรรยากาศการรักฟันขึ้นที่โรงเรียนเป็นกิจกรรมต่อเนื่องตลอดไปในทุกวันเสาร์-อาทิตย์หลังรับประทานอาหาร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของการเกิดโรคฟัน และวิธีการดูแลสุขภาพฟัน
- เพื่อสร้างทัศนคติที่ดี และสร้างบรรยาศให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ที่อบรมดูแลสุขภาพฟันของตัวเองในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
- กิจกรรมสร้างบรรยากาศการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
11.1. นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพช่องปากดีขึ้นเนื่องจากมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลรักษาฟันจากการได้รับความรู้จากการอบรม ถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของฟันเสีย และรู้จักวิธีดูแลฟันด้วยตัวเอง 11.2. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ดูแลรักษาสุขภาพฟันได้ด้วยตนเองในชีวิตประจำวัน 11.3. นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมบางอย่างอันเป็นสาเหตุของฟันผุ เช่นหลีกเลี่ยงการกินอาหารที่เป็นสาเหตุของฟันผุมากเกินไป3 11.4. นักเรียนสามารถแพร่ความรู้ที่ตัวเองได้รับสู่เพื่อนๆ และน้องๆที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ เพื่อร่วมกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันในวันเปิดทำการเรียน 11.5. ทางโรงเรียนสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่องคือกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง |
||
วันที่ 8 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (ช่วงเช้า) วิทยากรจากสาธารณสุข
- ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของฟัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพช่องปากดีขึ้น
|
80 | 0 |
2. กิจกรรมสร้างบรรยากาศการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง |
||
วันที่ 13 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ- สังเกตจำนวนนักเรียนและประสิทธิภาพในการร่วมกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร กลางวัน จะตอบโจทย์ ทัศนคติที่ดีของนักเรียนต่อการดูแลรักษาฟัน - สุ่มตรวจความสะอาดของฟันขณะเข้าแถวตอนเช้าโดยครูผู้สอน จะตอบโจทย์นักเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรมนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันที่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
80 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของการเกิดโรคฟัน และวิธีการดูแลสุขภาพฟัน ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เรื่องความสำคัญ สาเหตุ และวิธีการดูแลสุขภาพฟันเพิ่มขึ้น |
80.00 | 88.89 |
|
|
2 | เพื่อสร้างทัศนคติที่ดี และสร้างบรรยาศให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ที่อบรมดูแลสุขภาพฟันของตัวเองในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีทัศนคติที่ดีและ สามารถดูแลรักษาสุขภาพฟันได้ด้วยตนเอง |
80.00 | 88.89 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | 110 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | 110 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของฟัน สาเหตุของการเกิดโรคฟัน และวิธีการดูแลสุขภาพฟัน (2) เพื่อสร้างทัศนคติที่ดี และสร้างบรรยาศให้นักเรียนสามารถใช้ความรู้ที่อบรมดูแลสุขภาพฟันของตัวเองในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง (2) กิจกรรมสร้างบรรยากาศการดูแลสุขภาพฟันด้วยตนเอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟันสวย ด้วยมือเรา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4131-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวพาซียะห์ หะยีสาแม็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......