กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขกายสบายใจ ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮัยฟา จาหลง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขกายสบายใจ

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4131-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขกายสบายใจ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขกายสบายใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขกายสบายใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4131-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ( Ageing Society ) ตั้งแต่ ปี 2548 คือ มีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2563 โดยมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจาก 10.3 ล้านคน (ร้อยละ 16.2) ในปี 2558 และเป็น 20.5 ล้านคน (ร้อยละ32.1) ในปี 2585 เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้ เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ทำให้อัตราการตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุต่างๆจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย อาจถึงขั้นเกิดภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข จึงให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันตนเองจากโรคภัยต่างๆ ฟื้นฟูสภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมภาวะของโรคเหล่านั้นให้มีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่ครอบครัวและสังคม ส่งผลถึงความสุขในบั้นปลายของชีวิต จากการสำรวจข้อมูลประชากรผู้สูงอายุในพื้นที่      ตำบลอัยเยอร์เวง มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 1,050 ราย จำแนกเป็น ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง จำนวน 300 ราย ผู้สูงอายุติดสังคม  จำนวน 750ราย จากข้อมูลข้างต้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้สร้างคุณค่าในตัวเองเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเกิดความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองแบบองค์รวม (กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ)
  2. 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ(ติดสังคม) ได้รวมกลุ่มกันและมีการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเล็งเห็นถึงการสร้างคุณค่าในตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ
  2. กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง
  3. กิจกรรมสาธารณสุขพบปะผู้สูงอายุในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งด้าน กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ   2) ผู้สูงอายุในชุมชนสามารถดูแลตนเองได้มากขึ้นและรู้จักคุณค่าในตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ การรักษาโดยแพทย์ทางเลือก (แพทย์แผนไทย กายภาพบำบัด) แก่ผู้สูงอายุ (ติดสังคม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้สูงอายุเกิดความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองแบบองค์รวม (กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ)

 

60 0

2. กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุ(ติดสังคม) ได้รวมกลุ่มกันและมีการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

 

60 0

3. กิจกรรมสาธารณสุขพบปะผู้สูงอายุในชุมชน

วันที่ 1 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น -ให้ความรู้/สุขศึกษาแก่ผู้สูงอายุและครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุเห็นถึงการสร้างคุณค่าในตนเอง

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเกิดความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองแบบองค์รวม (กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง
100.00 108.34

 

2 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ(ติดสังคม) ได้รวมกลุ่มกันและมีการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ(ติดสังคม) ได้รวมกลุ่มและมีการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
100.00 108.34

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเล็งเห็นถึงการสร้างคุณค่าในตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการที่เห็นคุณค่าในตนเอง
100.00 115.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60 65
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1  เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเกิดความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองแบบองค์รวม (กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ) (2) 2  เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ(ติดสังคม) ได้รวมกลุ่มกันและมีการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเล็งเห็นถึงการสร้างคุณค่าในตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ (2) กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้สูงอายุตำบลอัยเยอร์เวง (3) กิจกรรมสาธารณสุขพบปะผู้สูงอายุในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขกายสบายใจ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4131-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮัยฟา จาหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด