กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการคัดกรองและป้องกันภาวะโรคเสี่ยงอัมพฤกษ์/อัมพาต ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศศิธร สุวรรณกาญจน์

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและป้องกันภาวะโรคเสี่ยงอัมพฤกษ์/อัมพาต ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5184-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและป้องกันภาวะโรคเสี่ยงอัมพฤกษ์/อัมพาต ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและป้องกันภาวะโรคเสี่ยงอัมพฤกษ์/อัมพาต ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและป้องกันภาวะโรคเสี่ยงอัมพฤกษ์/อัมพาต ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5184-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือด เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตลำดับต้นของคนไทยตั้งแต่ปี 2555 ในแต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคนี้มากกว่า 54,000 ราย และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ในจำนวนนี้มากกว่าร้อยละ 80 เป็นผู้สูงอายุ สาเหตุของโรคกลุ่มนี้เกิดจากวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ได้แก่ การรับประทานที่มากเกินพอดี ไม่สมดุล รับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้น้อย ใช้เครื่องอำนวยความสะดวกมากขึ้น มีกิจกรรมทางกายน้อยลง ไม่ออกกำลังกาย เครียด และพักผ่อนไม่เพียงพอ ประกอบกับการสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรมสุขภาพดังกล่าวส่งผลให้เกิดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และนำไปสู่การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของประชาชนในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านนา พบว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคอัมพฤกษ์/อัมพาตสูงเพิ่มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ และยังพบว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงขาดการรักษาอย่างต่อเนื่อง หยุดการรักษาเอง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง เช่นอัมพฤกษ์/อัมพาต และหัวใจขาดเลือด จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการให้บริการเชิงรุกในการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องปรับพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เช่นโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต
  2. 2. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการรักษา ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.การตรวจคัดกรอง
  2. 1.การจัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,260
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต
  2. กลุ่มเสี่ยงภาวะโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตัวเองมากขึ้น
  3. อัตราการขาดนัดในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงลดน้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.การจัดอบรม

วันที่ 3 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม.เพื่อนำความรู้ไปใช้ในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.ที่ได้รับการอบรมสามารถนำความรู้ไปตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายได้

 

70 0

2. 2.การตรวจคัดกรอง

วันที่ 9 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองภาวะเสี่ยงโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต กลุ่มเป้าหมายอายุ 40-70 ปี จำนวน 1373 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการคัดกรองพบว่ามีกลุ่มปกติ 789 ราย คิดเป็น 57.46% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาตระดับต่ำ น้อยกว่า 10% พบในกลุ่ม 40-50 ปีเป็นส่วนใหญ่
  • กลุ่มเสี่ยงปานกลาง 508 ราย คิดเป็น 36.69% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต 10-20%
  • กลุ่มเสี่ยงสูง 63 ราย คิดเป็น 4.58% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต 20-30%
  • กลุ่มเสี่ยงสูงมาก 11 ราย คิดเป็น 0.8% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต 30-40%
  • กลุ่มเสี่ยงสูงอันตราย 2 ราย คิดเป็น 0.1% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต>40%

 

1,260 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการคัดกรองพบว่า - กลุ่มปกติ 789 ราย คิดเป็น 57.46% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาตระดับต่ำ น้อยกว่า 10% พบในกลุ่ม 40-50 ปีเป็นส่วนใหญ่ - กลุ่มเสี่ยงปานกลาง 508 ราย คิดเป็น 36.69% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต 10-20%
- กลุ่มเสี่ยงสูง 63 ราย คิดเป็น 4.58% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต 20-30% - กลุ่มเสี่ยงสูงมาก 11 ราย คิดเป็น 0.8% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต 30-40% - กลุ่มเสี่ยงสูงอันตราย 2 ราย คิดเป็น 0.1% มีการเกิดโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต>40% การดูแลและคำแนะนำตามกลุ่ม - กลุ่มเสี่ยงต่ำ แนะนำเทคนิคการปฏิบัติตัวเพื่อให้มีสุขภาพดี และประเมินโอกาสเสี่ยงซ้ำทุก 1 ปี
- กลุ่มเสี่ยงปานกลาง-เสี่ยงสูง แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส. ติดตามซ้ำใน 3-6 เดือน - กลุ่มเสี่ยงสูงมาก แนะนำปัจจัยเสี่ยงรายบุคคลและแก้ไขปัจจัยเสี่ยงอย่างเร่งด่วน เช่น ความดันโลหิตสูงก็ให้ควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยการรักษากินยาอย่างสม่ำเสมอ ควบคุมอาหารที่ทำให้ความดันโลหิตสูง งดการสูบบุหรี่ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ประเมินการเกิดภาวะเสี่ยงใหม่ทุก 3 เดือน หากยังไม่สามารถลดความเสี่ยงได้ แนะนำให้ไปพบแพทย์ - กลุ่มเสี่ยงสูงอันตราย จำนวน 2 ราย แนะนำให้พบแพทย์โดยด่วน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เช่นโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 40-80 ปี ได้รับการคัดกรองอัมพฤกษ์/อัมพาต ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต ได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนและการป้องกันโรคไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการรักษา ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคอัมพฤกษ์/อัมพาตได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1260 1260
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,260 1,260
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เช่นโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต (2) 2. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการรักษา ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.การตรวจคัดกรอง (2) 1.การจัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและป้องกันภาวะโรคเสี่ยงอัมพฤกษ์/อัมพาต ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5184-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิธร สุวรรณกาญจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด