กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการป้องกันเด็กจมน้ำโดยผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในเขตเทศบาลนครยะลา
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา
วันที่อนุมัติ 19 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 127,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การจมน้ำเป็นสาเหตุอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ในปี พ.ศ.2560 มีเด็กเสียชีวิตทั้งประเทศจำนวน 708 คน พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 5-9 ปี เสียชีวิตสูงสูดร้อยละ 40.5 ปี เด็กอายุ 0-2 ปี ร้อยละ 20.0 พบว่าเพศชายจมน้ำมากกว่าเพศหญิง 2 เท่าตัวเดือนเมษายนพบการจมน้ำเสียชีวิตเฉลี่ย 121 คน การลงเล่นแหล่งน้ำธรรมชาติพบว่าจมน้ำสูงสุดร้อยละ 44.9 จากรายงาน ปี พ.ศ. 2561 (ข้อมูล ต.ค. 61- 8 มิ.ย.61)ในพื้นที่ของเทศบาลนครยะลามีรายงานในเขตตลาดเก่ามีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 ราย เป็นเด็กอายุ 8 ปี โดยมีข้อมูลว่า เด็กไปเล่นน้ำสวนน้ำยะลา บ้านอยู่อำเภอหนองจิก จ.ปัตตานี มาเล่นน้ำกับครอบครัวและว่ายน้ำเป็น(โรงพยาบาลยะลา,2561) จากปัญหาดังกล่าวเพื่อเป็นการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี กลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรคสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา ในฐานะผู้รับผิดชอบงานสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการป้องกันเด็กจมน้ำโดยผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในเขตเทศบาลนครยะลา อาศัยกระบวนการให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยง ผู้ปกครอง ประชาชนที่อยู่บริเวณจุดเสี่ยงใกล้แหล่งน้ำ และแกนนำนักเรียน ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการจมน้ำในเด็กตลอดจนสามารถป้องกัน ช่วยเหลือคนจมน้ำอย่างถูกวิธี และการฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการช่วยเหลือคนจมน้ำเบื้องต้นได้ถูกต้อง
  1. ร้อยละของผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ100 เชิงคุณภาพ
        2. มีความรู้ในการช่วยเหลือคนจมน้ำเบื้องต้นได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
2 2. เพื่อลดการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กเนื่องจากเป็นสาเหตุที่ป้องกันได้
  1. ลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุ    ต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 8 คนต่อแสนประชากร (ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข) ความพึงพอใจ     4. ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ80
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 127,550.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน 0 500.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (สถานที่เอกชน) จำนวน 2 กลุ่ม ดังนี้ 2.1 กลุ่มที่ 1 ครู ครูพี่เลี้ยง ประชาชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการที่อยู่อาศัยบริเวณจุดเสี่ยง จำนวน 50 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน รวมเป็น 60 คน ระยะเวลา 1 วัน 2 0 90,200.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการจัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ - ป้ายไวนิล X-STAN พร้อมขาตั้งจัดนิทรรศการ - ป้ายประชาสัมพันธ์โฟมบอร์ดการป้องกันและช่วยเหลือเบื้องต้นคนจมน้ำ ติดตั้งที่โรงเรียนเทศบาลทั้ง 6 แห่งและศพด. จำนวน 6 ศูนย์ - ป้ายโครงเหล็กคำเตือนติดบริเวณแหล่งน 0 33,600.00 -
??/??/???? กิจกรรมที่ 4 การประชุมสรุปและประเมินผลการเฝ้าระวังการจมน้ำในเขตเทศบาลจำนวน 110 คนร่วมกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน รวม 130 คน 0 3,250.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดเครือข่ายการมีส่วนร่วมในชุมชนต่อการป้องกันเด็กจมน้ำพื้นที่จุดเสี่ยงจมน้ำ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2562 00:00 น.