กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กชายเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มเครือข่าย อสม. ตำบลท่าเรือ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กชายเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กชายเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กชายเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กชายเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มีนาคม 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยบทบัญญัติของศาสนาอิสลามกำหนดให้ยุวชนมุสลิมชายทุกคนจะต้องเข้าพิธีสุนัตโดยพิธีเข้าสุนัตหมู่ของเด็กไทยมุสลิมซึ่งภาษาอาหรับเรียกว่า คีตาน ภาษามาลายูเรียกว่า มาโซ๊ะยาวี ส่วนคนไทย โดยทั่วไปเรียกว่า พิธีเข้าสุนัต ซึ่งทั้งสามคำนี้ มีความหมายเดียวกัน คือ การขลิบปลายอวัยวะเพศ ของเด็กไทยมุสลิม ทั้งชายและหญิง เมื่อย่างเข้าวัยอันควร คือ อายุระหว่าง ๖ - ๑๒ ปี
“พิธีเข้าสุนัต” ถือเป็นส่วนหนึ่งของความดีต่างๆ ตามบทบัญญัติอิสลามที่ “อัลลอฮ” ทรงบัญญัติแก่ปวงบ่าวของพระองค์ และทำให้ความดีต่างๆ ของพวกเขาทั้งภายนอกและภายในมีความสมบูรณ์ เนื่องจากเป็นการชำระความสกปรกสร้างความสะอาดสร้างบุคลิกที่สร้างอารมณ์ทางเพศที่พอดี
ดังนั้น เมื่อถึงวัยดังกล่าวผู้เป็นบิดามารดาหรือผู้ปกครองจึงจำเป็นที่จะต้องมีพิธีเข้าสุนัตให้กับยุวชนมุสลิมชาย แต่เนื่องจากในสภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน มีความจำเป็นจะต้องใช้มาตรการประหยัดเพื่อความอยู่รอด และจากอดีตที่ผ่านมา ปัญหาการเข้าสุนัตที่ทำกันอยู่ในชุมชน ส่วนใหญ่มักจะพบว่ามีการติดเชื้อค่อนข้างมาก สาเหตุประการหนึ่งมาจากเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำสุนัตไม่สะอาดเพียงพอและเด็กหรือผู้ปกครองบางส่วนไม่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตนเอง จากหลักการและปัญหาดังกล่าวข้างต้น เครือข่ายสุขภาพ อสม ได้ตระหนักถึงการเข้าไปมีส่วนร่วม  การสืบทอดประเพณีทางศาสนาที่มีขึ้นมาอย่างยาวนาน และเป็นบทบัญญัติอิสลาม จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมขึ้น เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางศาสนาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1เพื่อทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
  2. ข้อที่ 2 เพื่อประชาสัมพันธ์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลท่าเรือสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 กิจกรรมย่อยให้ความรู้การดูแลสุขภาพ
  2. 2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) และลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อได้ ๒. ผู้ปกครอง และชุมชนตระหนัก เข้าใจในการป้องกันโรคติดเชื้อได้ ๓. เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลท่าเรือเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรคได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.1 กิจกรรมย่อยให้ความรู้การดูแลสุขภาพ

วันที่ 5 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. จัดประชุมเครือข่ายสุขภาพ อสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรม ๓. เครือข่ายสุขภาพ อสม. ออกสำรวจค้นหากลุ่มเป้าหมาย ๔. กิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๗๒ คน เรื่อง - การเข้าสุนัตตามหลักการอิสลาม - ข้อดีของการขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย - ลักษณะการขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย - วิธีการดูแลรักษาแผลหลังจากขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย
๕. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายจำนวน ๒๗ คน ๖. ประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) และลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อได้ ๒. ผู้ปกครอง และชุมชนตระหนัก เข้าใจในการป้องกันโรคติดเชื้อได้ ๓. เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลท่าเรือเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรคได้

 

72 0

2. 2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

วันที่ 9 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

๒. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย จำนวน ๒๗ คนๆ ละ ๘๐๐ บาท
(ค่าหัตถการและเวชภัณฑ์) เป็นเงิน ๒๑,๖๐๐.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) และลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อได้ ๒. ผู้ปกครอง และชุมชนตระหนัก เข้าใจในการป้องกันโรคติดเชื้อได้ ๓. เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลท่าเรือเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรคได้

 

27 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
ตัวชี้วัด : ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding)
0.00 70.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อประชาสัมพันธ์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : เข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
0.00 70.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลท่าเรือสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : เข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
0.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27 27
กลุ่มวัยทำงาน 45 45
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก (bleeding) (2) ข้อที่ 2 เพื่อประชาสัมพันธ์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลท่าเรือสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 กิจกรรมย่อยให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (2) 2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กชายเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มเครือข่าย อสม. ตำบลท่าเรือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด