โครงการชาวประกอบร่วมใจ กำจัดขยะต้านภัยไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ
ชื่อโครงการ | โครงการชาวประกอบร่วมใจ กำจัดขยะต้านภัยไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ |
รหัสโครงการ | 62-L5202-2-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลประกอบ |
วันที่อนุมัติ | 15 มีนาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 28,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอุษณีย์ สุวรรณชาตรี |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสุวดี จันกระจ่าง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.483,100.643place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 เม.ย. 2562 | 30 ก.ย. 2562 | 28,100.00 | |||
รวมงบประมาณ | 28,100.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 420 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง ประชาชนกำจัดขยะถูกต้อง ถูสุขลักษณะ อย่างน้อย ร้อยละ 70 ของครัวเรือน |
70.00 | |
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด เป็นชุมชนน่าอยู่ บ้านน่าอยู่ น่าอาศัย สิ่งแวดล้อมดี ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธ์พาหะของโรค |
70.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 28,100.00 | 0 | 0.00 | 28,100.00 | |
1 เม.ย. 62 - 31 ก.ค. 62 | 3.1 กิจกรรมย่อย -รณรงค์ Big Cleaning Day ทุกหมู่บ้าน (หมู่ที่ 1-7)หมู่ละ 80 คน จำนวน 560 คน | 0 | 14,000.00 | - | - | ||
1 เม.ย. 62 - 31 ก.ค. 62 | ให้ความรู้การคัดแยก และกำจัดขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อ ลดแหล่งพาหะนำโรค | 0 | 3,600.00 | - | - | ||
1 พ.ค. 62 - 30 ก.ค. 62 | 2. อบรมให้ความรู้การกำจัดขยะในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ 2.1 กิจกรรมย่อย -อบรมความรู้การคัดแยก และกำจัดขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อลดแหล่งพาหะนำโรคแก่แกนนำครัวเรือน จำนวน อย่างน้อยหมู่ละ 60 คน 7 หมู่บ้าน จำนวน 420 คน | 0 | 10,500.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 28,100.00 | 0 | 0.00 | 28,100.00 |
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
ขั้นเตรียมการ
๑.ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานร่วมกับผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมการ หมู่บ้านผู้นำศาสนา อสม. จำนวน 50 คน
๒.ประสานความร่วมมือส่วนราชการและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3.ประสานวิทยากร
ขั้นดำเนินการ
1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
-อบรมให้ความรู้ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น กรรมการหมู่บ้าน อสม. ผู้นำศาสนา และตัวแทนครัวเรือน อย่างน้อยหมู่ละ 60 คน
2.กิจกรรมรณรงค์/ ประชาสัมพันธ์
-ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย/ไวนิลประชาสัมพันธ์
-จัดกิจกรรม รณรงค์Big Cleaning Day ร่วมกับผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย อสม แกนนำชุมชนหมู่ละ 1 ครั้งทุกหมู่บ้าน และต่อเนื่องโดยชุมชนและภาคีเครือข่าย เดือนละ 1 ครั้ง
3.กิจกรรมส่งเสริมการแปรรูปขยะ/การประดิษฐ์ (หลัก 3 R)
-เชิญวิทยากรส่งเสริมการประดิษฐ์แก่กลุ่ม อสม./แม่บ้านสตรี/เยาวชน จำนวน 50 คน
-จัดตั้งกลุ่มขยะบุญ เป็นรายได้เพื่อพัฒนาศาสนสถาน
4.กิจกรรม ครอบครัวต้นแบบ ลดขยะ ลดโรค รักษ์สิ่งแวดล้อม
- กำหนดหลักเกณฑ์ในการพัฒนาครัวเรือนตัวอย่างโดยส่งเสริมตามนโยบาย “ หน้าบ้านสวย หลังบ้าน สวน ในบ้านสะอาด”
-จัดกิจกรรม อสม.ต้นแบบ ลดขยะ ลดโรค รักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแบบอย่างในการปรับปรุงครัวเรือนและสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
-ติดตามกิจกรรมส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะมูลฝอยจากแหล่งกำเนิด(ครัวเรือน) โดยให้มี อสม.ให้คำแนะนำ ควบคุม กำกับ ครัวเรือนในเขตรับผิดชอบของตนเองทุก 2 สัปดาห์
-คัดเลือกครัวเรือนดีเด่น ในการปรับปรุง พัฒนา สิ่งแวดล้อมรอบบ้านตัวเอง และกำจัดขยะอย่างถูกสุขลักษณะ
-มอบเกียรติบัตร ประกาศเกียรติคุณแก่ครัวเรือนที่มีการปรับปรุง พัฒนา และกำจัดขยะอย่างถูกต้อง
5.สรุปผลการดำเนินโครงการ
การประเมินผล
1.ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อสม. และตัวแทนครัวเรือน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการกำจัดขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเพิ่มขึ้น (
2.การมีส่วนร่วมในกิจกรรม Big Cleaning Day และให้ความร่วมมือในการกำจัดขยะในครัวเรือนถูกสุขลักษณะเพิ่มขึ้น
3.สิ่งแวดล้อมสะอาด สวยงาม น่าอยู่ขึ้น
1.ประชาชนมีความตระหนักและตื่นตัวในการจัดการขยะของชุมชนตนเองด้วยการร่วมมือกันคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
2. ประชาชนมีสิ่งแวดล้อมดี คุณภาพชีวิตดีขึ้น มีสุขภาพอนามัยที่ดี
3. เกิดกลุ่มแกนนำในการดูแลสิ่งแวดล้อม “อสม.ต้นแบบ ลดขยะ ลดโรค รักษ์สิ่งแวดล้อม” มีหน้าที่คอยสอดส่องดูแลความ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มี.ค. 2562 13:11 น.