กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายเผดื่อง รักษศรี ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน เครือข่ายโรงพยาบาลย่านตาขาว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8291-3-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8291-3-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 129,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการพัฒนาด้านการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้อัตราตายลดลง ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีชีวิตยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุมักมีปัญหาต่อสุขภาพ เนื่องจากความเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย และผลของโรคเรื้อรังที่พบบ่อยได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด      ซึ่งปัจจุบัน พบว่ามีผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะเบาหวานและ        โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้น และในแต่ละปีจะต้องใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจำนวนมาก      โดยจากสถิติเปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลัง ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและ          ความดันโลหิตสูง ในภาพรวมของอำเภอย่านตาขาวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปี ๒๕๕๘ มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน ๒,๒๖๗ ราย ปี ๒๕๕๙ จำนวน ๒,๔๔๑ ราย และปี ๒๕๖๐ จำนวน ๒,๕๗๘ ราย และจำนวนผู้ป่วยโรคความดัน  โลหิตสูง มีจำนวน ๖,๐๕๐ ราย ๖,๕๒๓ ราย และ ๗,๐๐๒ ราย ตามลำดับ จะเห็นได้ว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ ได้มุ่งเน้นระบบสุขภาพแบบพอเพียงส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การบำบัดรักษาความเจ็บป่วยด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งการแพทย์แผนไทยเป็นกรรมวิธีทางภูมิปัญญาที่อิงความเป็นธรรมชาติ และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทยอีกทั้งยังเป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านสุขภาพที่ประชาชนสามารถดูแลป้องกันตัวเองได้ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการเฝ้าระวังโรคในการบำบัดรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยได้ใช้วิธีการอย่างหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลการรักษาทั้งทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งเป็นอีกทางหนึ่งที่สามารถดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วยและเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชนเครือข่ายโรงพยาบาลย่านตาขาวได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทยขึ้น เพื่อให้การดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟู สุขภาพของผู้สูงอายุและเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ประชาชนทั่วไป เพื่อให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทย รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้
  2. - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ลงมือปฏิบัติจริงในการนำแพทย์แผนไทยมาดูแลสุขภาพตนเอง ภายใต้คำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความสามารถในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพรได้ในเบื้องต้น รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้
    • มีการอนุรักษ์และถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้อยู่คู่กับชุมชนต่อไป
    • เกิดการทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่ายในชุมชนด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยสมุนไพร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทย รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้
    ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    2 - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ลงมือปฏิบัติจริงในการนำแพทย์แผนไทยมาดูแลสุขภาพตนเอง ภายใต้คำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ
    ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถลงมือปฏิบัติจริงในการนำแพทย์แผนไทยมาดูแลสุขภาพตนเองได้ตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทย รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้ (2) - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ลงมือปฏิบัติจริงในการนำแพทย์แผนไทยมาดูแลสุขภาพตนเอง ภายใต้คำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 62-L8291-3-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเผดื่อง รักษศรี ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน เครือข่ายโรงพยาบาลย่านตาขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด