กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ


“ โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจโรคเรื้อรังตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ”

ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแว้ง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจโรคเรื้อรังตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2523-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจโรคเรื้อรังตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจโรคเรื้อรังตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจโรคเรื้อรังตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2523-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือที่เรียกว่า “โรควิถีชีวิต” ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และ โรคมะเร็งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องมาจากความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมส่งผลต่อวิถีชีวิตและก่อให้เกิดพฤติกรรมการสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล (ทานหวาน มัน เค็มมากเกินไป และทานผัก ผลไม้น้อยไป) การเคลื่อนไหวทางกายน้อย การบริโภคยาสูบ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ รวมถึงภาวะเครียด ซึ่งหากไม่สามารถหยุดพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรควิถีชีวิต พิการ และเสียชีวิตตามมา นอกจากนี้ ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาล จากรายงานสถิติสุขภาพทั่วโลกปี พ.ศ. ๒๕๕๙ขององค์การอนามัยโลกพบว่า ๑ ใน ๑๐ ของประชาชนในวัยผู้ใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและ ๑ ใน ๓ มีภาวะความดันโลหิตสูงนอกจากนี้พบว่าประมาณร้อยละ ๖๓ ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลกเกิดจากโรควิถีชีวิตสำหรับประเทศไทยจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ ๔ พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ พบว่า ความชุกของโรคเบาหวานเป็นร้อยละ ๖.๙ทั้งนี้พบว่า ๑ ใน ๓ ของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อนและมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ ๓.๓ ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงเป็นร้อยละ ๒๑.๔ โดยพบว่าผู้ป่วยเพศชายร้อยละ ๖๐ และผู้ป่วยเพศหญิงร้อยละ ๔๐ ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อนและมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง แต่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ ๘-๙จังหวัดนราธิวาสพบผู้ป่วยเบาหวานจำนวน๑๙,๖๒๕คนคิดเป็นอัตราป่วย ๒,๕๒๓.๐๒/แสน ประชากร ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน๖๑,๗๓๗คนคิดเป็นอัตราป่วย๗,๙๓๗.๐๒/แสนประชากรอำเภอแว้งมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน๒,๐๑๓คนคิดเป็นอัตราป่วย๓,๘๒๑.๐๓/แสนประชากร ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน๔,๗๙๔คนคิดเป็นอัตราป่วย๙,๐๙๙.๘๘/แสนประชากรซึ่งพบว่าโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีอัตราการรับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกสูงเป็นอันดับ๑และ ๒ตามลำดับในปี๒๕๕๙ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับHbA1c < ๗% คิดเป็นร้อยละ๓๘.๒๙และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมความดันได้ดีคิดเป็นร้อยละ๔๒.๔๓สำหรับตำบลเอราวัณพบผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน ๔๗๐ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๔,๑๒๔.๖๑/แสนประชากร โรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๑,๑๑๑ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๙,๗๔๙.๘๙/แสนประชากร ผู้ป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จึงจะสามารถลดอัตราลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือตัวของผู้ป่วยเองครอบครัวและชุมชนสำนักงานสาธารณสุขอำเภอแว้งจึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจโรคเรื้อรัง ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๖๐ ขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. ๒.เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มสีส้มและสีแดงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ๒. มีระบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒.เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (2) ๒.เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจโรคเรื้อรังตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2523-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแว้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด