กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ลดโรคลดเสี่ยงเลี่ยงสารเคมี
รหัสโครงการ 2562-L3310-1-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านลานช้าง
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2562
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศุภลักษณา เพชรย้อย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ผัก เป็นพืชอาหารที่มีความสำคัญทาง เศรษฐกิจของโลก ประเทศต่างๆ ในโลกนี้อาจมีการ ปลูกพืชต่างกันเพื่อเป็นอาหารหลัก บางประเทศปลูก ข้าวเป็นอาหาร แต่บางประเทศปลูกข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝรั่ง มันสำปะหลัง เพื่อเป็นอาหาร แต่พืชที่ทุกๆ ประเทศต้องปลูกเพื่อการบริโภคเป็นอาหาร คือ พืชผัก เพราะมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของร่างกายให้ดำ รงอยู่ได้ตามปกติ คนไทยนิยมนำผักมาใช้รับประทาน กันมาก เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย แต่ค่านิยมใน การบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงาม ไม่มี ร่องรอยการทำลายของหนอนและแมลงศัตรูพืชเกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัด แมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เมื่อนำมาบริโภค อาจ ได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได
จากผลการดำเนินงานการตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือดจากกลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไปใน ปี 2561 จำนวน 80 ราย พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง 60 ราย คิดเป็นร้อยละ 75ไม่ปลอดภัย 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 25ไม่พบกลุ่มปกติ และปลอดภัยซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประชาชน ไม่ตระหนักถึงพิษภัยของการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน ประกอบกับปัจจุบันประชาชนหันมาใช้สารเคมีช่วยในการดำรงชีวิตมากขึ้น ซึ่งได้แก่ การใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงศัตรูพืช การใช้สารเคมีในการฆ่าหญ้าโดยที่ไม่ได้ป้องกันตัวเองจากสารเคมีและยังส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีมีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน

ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้

0.00
2 เพื่อส่งเสริมการปลูกพืชผักปลอดสารเคมี ผักพื้นบ้าน.และการเรียนรู้การลดสารเคมีในพืชผักก่อนบริโภค

กลุ่มเป้าหมายมีการปลูกผักกินเองโดยไม่ใช้สารเคมีในการเพาะปลูก  ผลจากการเจาะเลือดตรวจหาสารเคมีตกค้างไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ปลอดภัย

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,000.00 0 0.00
??/??/???? อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน จำนวน 3 รุ่นๆละ 3 ชม. 0 10,000.00 -

1.คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 ราย
  2.เจาะเลือดตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่กลุ่มเป้าหมาย พร้อมแจ้งผลการคัดกรอง   3.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากกลุ่มเป้าหมายที่พบผลการตรวจเลือดในกลุ่มปลอดภัย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความความรู้เรื่องการใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้องและปลอดภัยลดและเลิกการใช้สารเคมีในการปลูกพืชผัก หันมาปลูกพืชปลอดสารพิษ กินเองในครัวเรือน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 เม.ย. 2562 16:14 น.