กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ


“ โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ประจำปีงบประมาณ2560 ”

ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาดีฮะห์ มะรือสะ

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ประจำปีงบประมาณ2560

ที่อยู่ ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2523-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ประจำปีงบประมาณ2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ประจำปีงบประมาณ2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ประจำปีงบประมาณ2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2523-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อทำให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพโดยไม่มีขีดจำกัดด้านเศรษฐกิจก่อให้เกิดผลดีต่อประชาชนการมีสุขภาพดีเป็นต้นทุนของทุกคนดังนั้นจึงควรทำให้มีสุขภาพดีตลอดการสร้างนำซ่อมหรือที่เรียกว่าการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจึงเป็นกระบวนการที่สำคัญแต่ปัจจุบันอัตราการรักษาพยาบาลสูงขึ้นค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มมากขึ้นแต่ผลตอบแทนด้านสุขภาพน้อยเห็นได้จากอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้หรือโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการปฏิบัติตนยังมีอัตราที่สูงเช่นเบาหวานความดันโลหิตสูง โดยที่โรคดังกล่าวเป็นปัญหาที่สำคัญของตำบลเอราวัณ ซึ่งกลุ่มบุคคลดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการดูแลการให้คำแนะนำ และการติดตามเยี่ยมที่บ้านอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมให้การบริการในเชิงรุกการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านแบบบูรณาการการให้คำแนะนำและความรู้แก่ญาติและผู้ป่วยที่บ้านจะก่อให้เกิดผลแบบองค์รวมทั้งกาย จิต และสังคม และยังมีผลต่อกลุ่มเป้าหมาย ให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลลงได้ด้วย ดังนั้นการบริการเชิงรุกโดยการเยี่ยมบ้านติดตามดูแลกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง หรือกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุ คนพิการ ที่บ้านแบบบูรณาการ จึงเป็นบริการเชิงรุกที่จำเป็นและสำคัญเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวให้ลดลง ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเอราวัณ จึงมีแนวคิดที่จะทำโครงการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน โดยที่ปัจจุบันเราพบว่าส่วนใหญ่ถูกทอดทิ้งให้ดำเนินชีวิตอยู่ที่บ้านตามลำพังเนื่องจากบุคคลในครอบครัวต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้านทำงานที่ต่างจังหวัด หรือทำงานในประทศเพื่อนบ้าน ดังนั้นจึงควรอย่างยิ่งที่จะเร่งดำเนินทำงานลักษณะเชิงรุกในชุมชนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูแลกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (อสม.)องค์การบริหารส่วนตำบลเอราวัณและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตอแล พบว่าส่วนใหญ่ผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน ที่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่เข้าถึงการบริหารสาธารณะสุข ตามสิทธิขั้นพื้นฐานของพลเมืองได้น้อยที่สุด รวมถึงสิทธิการเข้าถึงการรักษา เยียวยาจากหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งบุคคลกลุ่มนี้นับวันจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น กลายเป็นปัญหาสังคมที่สำคัญ โดยเฉพาะในพื้นที่ตำบลเอราวัณ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลเอราวัณตระหนักถึงความรุนแรงของปัญหาดังกล่าว จึงเป็นแรงบันดาลใจในการคิดโครงการนี้ขึ้นเพื่อที่จะช่วยเหลือในการพัฒนารูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุติดเตียง ผู้ป่วยติบ้าน ที่เป็นผู้สูงอายุ คนพิการหรือป่วยเรื้อรัง ที่ยากจน หรือถูกทอดทิ้งทุกคน นอกจากนี้แล้วภาวะเศรษฐกิจในพื้นที่ไม่ดียางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของพื้นที่ราคาตกต่ำ และมีฝนตกชุกในปีนี้ ประชาชนไม่สามารถที่จะประกอบอาชีพตัดยางได้ องค์การบริหารส่วนตำบลเอราวัณ จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมบ้านพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุติดเตียง ประจำปี ๒๕๖๐เพื่อให้ความช่วยเหลือกลุ่มผู้สูงอายุดังกล่าวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อพัฒนาและยกระดับระบบบริการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน
  2. ๒. เพื่อพัฒนาระบบบริการที่บ้านหรือในชุมชน ทำให้ผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้านได้รับการเยี่ยมบ้าน
  3. ๓. เพื่อสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน โดยใช้ครอบครัว สถานบริการสาธารณสุข และชุมชนเป็นฐาน
  4. ๔. เพื่อพัฒนาการและยกระดับการให้บริการของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.) และอสม.
  5. ๕. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
  6. ๖. เพื่อพัฒนาและยกระดับการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงของสมาชิกในครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. มีการพัฒนาและยกระดับระบบบริการเยี่ยมบ้านฟื้นฟูสมรรถภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน ๒. สามารถเพิ่มความรู้และส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้ครอบครัว สถานบริการสาธารณสุข และชุมชนเป็นฐานได้ ๓. สามารถป้องกันการเจ็บป่วยเรื้อรังได้เพิ่มมากขึ้นผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัว สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำได้ต่อไป ๔. ผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน ได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐ ทำให้มีขวัญ กำลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไป ๕. อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (อสม.)และอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.) ได้รับการพัฒนาการให้บริการและยกระดับระบบการให้บริการกับผู้ป่วยได้ดียิ่งขึ้น ๖. ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงได้รับการยกระดับและพัฒนาความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่กำหนด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อพัฒนาและยกระดับระบบบริการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อพัฒนาระบบบริการที่บ้านหรือในชุมชน ทำให้ผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้านได้รับการเยี่ยมบ้าน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓. เพื่อสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน โดยใช้ครอบครัว สถานบริการสาธารณสุข และชุมชนเป็นฐาน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 ๔. เพื่อพัฒนาการและยกระดับการให้บริการของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.) และอสม.
    ตัวชี้วัด :

     

    5 ๕. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
    ตัวชี้วัด :

     

    6 ๖. เพื่อพัฒนาและยกระดับการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงของสมาชิกในครอบครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อพัฒนาและยกระดับระบบบริการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน (2) ๒. เพื่อพัฒนาระบบบริการที่บ้านหรือในชุมชน ทำให้ผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้านได้รับการเยี่ยมบ้าน (3) ๓. เพื่อสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน โดยใช้ครอบครัว สถานบริการสาธารณสุข และชุมชนเป็นฐาน (4) ๔. เพื่อพัฒนาการและยกระดับการให้บริการของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.) และอสม. (5) ๕. เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง (6) ๖. เพื่อพัฒนาและยกระดับการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงของสมาชิกในครอบครัว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ประจำปีงบประมาณ2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2523-2-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมาดีฮะห์ มะรือสะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด