กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว


“ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ”

ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนันทา แก้วพิทยานนท์

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 06/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 06/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2560 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หาย และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย และมักพบร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมีโอกาสเกิดความพิการและเป็นอันตรายถึงชีวิต ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งพบว่า ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตำบลเกาะแต้วมีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด๔๒๕รายและผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ในเกณฑ์ดี แต่ยังขาดทักษะ ขาดความตระหนักในการดูแลตนเอง สาเหตุส่วนหนึ่งมากจากตัวผู้ป่วยเองขาดแรงกระตุ้นในการจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง และขาดความร่วมมือจากผู้ดูแลเพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุจะต้องมีผู้ดูแลเรื่องการรับประทานยา และการประกอบอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยและอื่นๆ อีกมากมาย ทาง รพ.สต.เกาะแต้ว ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงมีความมุ่งมั่นในการดูแลผู้ป่วย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับการบริการ การตรวจดูแลอย่างครบถ้วน จึงจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในปี ๒๕๕๙ โดยยึดชุมชนเป็นส่วนกลาง เพื่อทำให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมที่เป็นจริงสอดคล้องกับสภาพสังคมและวิถีชีวิตประจำวันจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่ผิดแปลกไปจากผู้อื่นในสังคม ทำให้ผู้ป่วยเกิดกำลังใจ และมีความพยายามในการปรับเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพที่ได้รับมาตรฐาน จากทีมสหวิชาชีพ ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค การปฏิบัติตน ๔. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังได้รับการดูแลครบองค์รวม ๕. เพื่อเพิ่มช่องทางให้ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังได้เข้าถึงบริการจากโรงพยาบาลสงขลาได้ง่ายขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    -ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลที่ได้มาตรฐานจากทีมสหวิชาชีพ -ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงไม่มีภาวะแทรกซ้อน -ผู้ป่วยมีความตระหนักในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค -ผู้ป่วยได้รับการดูแลครบองค์รวม -ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังได้เข้าถึงบริการจากโรงพยาบาลสงขลาได้ง่าย สะดวกขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพที่ได้รับมาตรฐาน จากทีมสหวิชาชีพ ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค การปฏิบัติตน ๔. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังได้รับการดูแลครบองค์รวม ๕. เพื่อเพิ่มช่องทางให้ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังได้เข้าถึงบริการจากโรงพยาบาลสงขลาได้ง่ายขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพที่ได้รับมาตรฐาน จากทีมสหวิชาชีพ ๒. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค การปฏิบัติตน ๔. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังได้รับการดูแลครบองค์รวม ๕. เพื่อเพิ่มช่องทางให้ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังได้เข้าถึงบริการจากโรงพยาบาลสงขลาได้ง่ายขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 06/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนันทา แก้วพิทยานนท์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด