กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปฏิบัติตามเทศบัญญัติเทศบาลนครยะลา และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของร้านที่เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
0.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 3. ผลคะแนนรวมการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 80 4. ตัวอย่างอาหารที่สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี (สารเคมีปนเปื้อน 4 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน ฟอกขาว และสารกันรา) 5. ตัวอย่างที่สุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนด้านชีวภาพ (เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในภาชนะ/อาหาร/มือ) 6. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร (2) 2. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ปฏิบัติตามเทศบัญญัติเทศบาลนครยะลา และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯ  เป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จำนวน  23 คน (2) กิจกรรมที่ 2 โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร เป้าหมาย สำหรับผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร      2.1 จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 คน                      1. จุดผ่อนผันหลังโรงเรียนนิบงฯ            2. จุดผ่อนผันสะพานดำ          3. จุดผ่อนผันสน (3) กิจกรรมที่ 2 โครงการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร  2.2 ร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 คน (4) กิจกรรมที่ 3 การจัดนิทรรศการให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร เป้าหมาย ผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ณ จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 ร้าน และร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 ร้าน (5) กิจกรรมที่ 4 การตรวจประเมินร้าน/แผงจำหน่ายอาหารในจุดผ่อนผัน ภายใต้สโลแกน “สะอาด ปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค”  เป้าหมาย ผู้ประกอบการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ณ จุดผ่อนผัน 5 จุด จำนวน 100 ร้าน และร้านอาหารและแผงจำหน่ายอาหารในตลาด จำนวน 100 ร้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh