กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและส่งเสริมสุขภาพ เด็กแรกเกิด-1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2562 ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวทิพย์สุดา ธรรมวาทิตย์ ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและส่งเสริมสุขภาพ เด็กแรกเกิด-1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62- L7452 – 1 - 04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและส่งเสริมสุขภาพ เด็กแรกเกิด-1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและส่งเสริมสุขภาพ เด็กแรกเกิด-1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและส่งเสริมสุขภาพ เด็กแรกเกิด-1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62- L7452 – 1 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,890.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถิติการตั้งครรภ์ในปัจจุบันมีมากขึ้น โดยเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2561 มีมารดาหลังคลอด 667 ราย ได้รับการเยี่ยมครบ 3 ครั้ง จำนวน 545 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.71 มีการให้บริการฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ทั้งหมด 80 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.67 ยังมีมารดาหลังคลอด ที่ไม่ได้รับบริการฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยอีก 465 รายคิดเป็นร้อยละ 85.32 (ข้อมูลจากคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center : HDC) งานแม่และเด็ก ฝ่ายเวชกรรมสังคม และงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลยะลา) และผลการดำเนินโครงการฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในเขตเทศบาลนครยะลา 2560 มีมารดาหลังคลอดเข้ารับบริการ จำนวน 30 ราย แบ่งเป็นคลอดปกติจำนวน 20 ราย และผ่าคลอดจำนวน 10 ราย บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งมีมารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการให้บริการร้อยละ 92.8 และผลการดำเนินโครงการฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในเขตเทศบาลนครยะลา 2561 ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนธันวาคม มีมารดาหลังคลอดเข้ารับบริการ จำนวน 34 ราย แบ่งเป็นคลอดปกติจำนวน 20 ราย และผ่าคลอดจำนวน 14 ราย จากจำนวนเป้าหมาย 50 ราย การฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและเด็กแรกเกิด-1ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยสามารถช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ขับน้ำคาวปลา ลดอาการปวดกล้ามเนื้อตามอวัยวะต่างๆ ทำให้น้ำนมไหลดีขึ้น มารดาคืนสู่สภาพปกติ แข็งแรงได้โดยเร็ว ส่วนการดูแลเด็กแรกเกิด-1ปีสามารถบำบัดรักษาโรคและอาการในเด็กแรกเกิด เช่น แก้หวัด ขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อจากข้อมูลดังกล่าวยังมีหญิงหลังคลอดอีกหลายคนที่ยังขาดการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย อาจเพราะขาดความรู้และไม่ทราบถึงประโยชน์การดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจึงให้ความสำคัญน้อยมาก ซึ่งการดูแลมารดาหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทย ที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง งานแพทย์แผนไทย กลุ่มงานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวโครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด-1ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2562 โดยมีการให้บริการแก่มารดาหลังคลอด ดังนี้ การใช้ยาสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร การเข้ากระโจม การอบสมุนไพร การนวดหลังคลอด การนวดเต้านมในกรณีน้ำนมไม่ไหลและเต้านมคัดตึง รวมทั้งการให้บริการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด-1 ปีด้วยการนวดเด็กแรกเกิดเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ การเขียนคิ้ว การดึงจมูกให้โด่ง การสุมกระหม่อมเด็ก และการห่มท้องลดอาการท้องอืดตลอดจนการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารบำรุงสุขภาพ อาหารแสลงอาหารบำรุงน้ำนม น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการดูแลความงามผิวพรรณด้วยสมุนไพร เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพ บำบัดโรคที่ดีอีกวิธีหนึ่งของมารดาหลังคลอดและเด็กแรกเกิด-1 ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเมื่อเจ็บป่วยขณะตั้งครรภ์ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจากการติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ และแนะนำเข้าร่วมกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอด
  2. ข้อที่ 2. เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ขับน้ำคาวปลา ทำให้หน้าท้องยุบ ลดอาการปวดท้องน้อย ลดปวดกล้ามเนื้อตามอวัยวะส่วนต่าง ๆ และทำให้น้ำนมไหลสะดวกขึ้น ให้มารดาคืนสู่สภาพปกติ และแข็งแรงได้โดยเร็ว
  3. ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมความรู้การดูแลทารกแรกเกิด – 1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย แก่มารดาและผู้ปกครอง
  4. ข้อที่ 4. เพื่อรณรงค์ให้มารดาและผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 1 ปี และประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา ได้รับการส่งเสริมดูแลสุขภาพด้วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาล 100 ราย - ให้ความรู้ ประเมินสุขภาพมารดาขณะตั้งครรภ์ - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
  2. กิจกรรมที่ 2 การให้บริการฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย กลุ่มเป้าหมาย มารดาหลังคลอดในเขตเทศบาล จำนวน 50 คน ขั้นตอนที่ 1 นวดมารดาหลังคลอด ขั้นตอนที่ 2 ประคบสมุนไพร ขั้นตอนที่ 3 ทับหม้อเกลือ ขั้นตอนที่ 4 อบไอน้ำสมุนไพร
  3. กิจกรรมที่ 3 การอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด – 1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่มารดาและผู้ปกครอง กลุ่มเป้าหมาย มารดาหลังคลอดและผู้ปกครอง เด็กแรกเกิด-1ปี ในเขตเทศบาลจำนวน 60 คน (จัดกิจกรรม 6 ครั้ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 10 คน/ครั้ง )
  4. กิจกรรมที่ 4 การจัดนิทรรศการและสื่อประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 160
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเยี่ยมสุขภาพและได้รับคำแนะนำในการดูแลตนเองหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
  2. มารดาหลังคลอดได้เข้าถึงบริการฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยทำให้สุขภาพแข็งแรงรวดเร็วขึ้น
  3. มารดาและผู้ปกครองเด็กแรกเกิด-1ปี ได้รับการส่งเสริมความรู้และการดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด-1ปี ด้วยการแพทย์แผนไทย สามารถดูบุตรให้มีภาวะสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ สามารถสังเกตอาการผิดปกติ และภาวะแทรกซ้อนอันตรายได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเมื่อเจ็บป่วยขณะตั้งครรภ์ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจากการติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ และแนะนำเข้าร่วมกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการเยี่ยม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมาย
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ขับน้ำคาวปลา ทำให้หน้าท้องยุบ ลดอาการปวดท้องน้อย ลดปวดกล้ามเนื้อตามอวัยวะส่วนต่าง ๆ และทำให้น้ำนมไหลสะดวกขึ้น ให้มารดาคืนสู่สภาพปกติ และแข็งแรงได้โดยเร็ว
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 70 ของมารดาหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ( 35 ราย) 4. มารดาหลังคลอดที่การได้รับการฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยมีผลทางคลินิกอยู่ในเกณฑ์ที่ดี (คะแนนเฉลี่ยมากกว่า 80 ขึ้นไป)
0.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมความรู้การดูแลทารกแรกเกิด – 1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย แก่มารดาและผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : . มารดาและผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ในการดูแลทารกแรกเกิด – 1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

4 ข้อที่ 4. เพื่อรณรงค์ให้มารดาและผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 1 ปี และประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา ได้รับการส่งเสริมดูแลสุขภาพด้วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : 6. มารดาหลังคลอดและผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -1ปี มีความพึงพอใจในกิจกรรมของโครงการ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 160
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพและการดูแลเมื่อเจ็บป่วยขณะตั้งครรภ์ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจากการติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์  และแนะนำเข้าร่วมกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอด (2) ข้อที่ 2. เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอด ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ขับน้ำคาวปลา ทำให้หน้าท้องยุบ ลดอาการปวดท้องน้อย ลดปวดกล้ามเนื้อตามอวัยวะส่วนต่าง ๆ และทำให้น้ำนมไหลสะดวกขึ้น ให้มารดาคืนสู่สภาพปกติ และแข็งแรงได้โดยเร็ว (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมความรู้การดูแลทารกแรกเกิด – 1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย แก่มารดาและผู้ปกครอง (4) ข้อที่ 4. เพื่อรณรงค์ให้มารดาและผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 1 ปี และประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา  ได้รับการส่งเสริมดูแลสุขภาพด้วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์  กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาล 100 ราย - ให้ความรู้ ประเมินสุขภาพมารดาขณะตั้งครรภ์ - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (2) กิจกรรมที่ 2 การให้บริการฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย  กลุ่มเป้าหมาย มารดาหลังคลอดในเขตเทศบาล จำนวน 50 คน    ขั้นตอนที่ 1 นวดมารดาหลังคลอด    ขั้นตอนที่ 2 ประคบสมุนไพร    ขั้นตอนที่ 3 ทับหม้อเกลือ    ขั้นตอนที่ 4 อบไอน้ำสมุนไพร    (3) กิจกรรมที่ 3 การอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด – 1 ปี  ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่มารดาและผู้ปกครอง  กลุ่มเป้าหมาย มารดาหลังคลอดและผู้ปกครอง เด็กแรกเกิด-1ปี ในเขตเทศบาลจำนวน 60 คน (จัดกิจกรรม 6 ครั้ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 10 คน/ครั้ง ) (4) กิจกรรมที่ 4 การจัดนิทรรศการและสื่อประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูมารดาหลังคลอดและส่งเสริมสุขภาพ เด็กแรกเกิด-1 ปี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62- L7452 – 1 - 04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวทิพย์สุดา ธรรมวาทิตย์ ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด