กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด บ้านควนขี้แรด ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสมบัติ เกื้อสุทธิ์

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด บ้านควนขี้แรด

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด บ้านควนขี้แรด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด บ้านควนขี้แรด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด บ้านควนขี้แรด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด จากข้อมูลสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรดังนี้ โรคมะเร็งทุกชนิด ๑๑๙.๑๐ โรคความดันโลหิตสูง ๗๐๘.๗๔ โรคหัวใจและหลอดเลือด ๙๐๑.๓๑ จากสถิติการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่ของตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง พบว่าประชาชนในพื้นที่มีกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น คือจากปี ๒๕๕๙-๒๕๖๐ คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๐๔  ซึ่งจากการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพพบว่า โรคเหล่านี้เกิดจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่านิยม วัฒนธรรม วิถีชีวิต ค่านิยมการกินแบบตะวันตก การบริโภคอาหารที่เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งรับประทานผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ตลอดจนการมีพฤติกรรมและมีปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ไม่ถูกต้องและเสี่ยง ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตายและพิการ เป็นภาระต่อครอบครัว ชุมชนและประเทศในการดูแล รักษา มีการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเศรษฐกิจมหาศาล ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยบุคคลและชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
    ดังนั้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนและภาคีเครือข่ายให้เกิดความตระหนักในการสร้างภูมิคุ้มกัน ปลูกฝังค่านิยม เฝ้าระวัง เสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและจัดการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้มีพฤติกรรมลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือดที่อย่างถูกต้อง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๗ บ้านควนขี้แรด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น เพื่อผลักดันให้ชุมชนดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายอื่นๆในชุมชน ในด้านการบริหารจัดการ การระดมทรัพยากร การประสานงานในเครือข่ายผ่านกระบวนการ ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ อย่างเป็นระบบสิ่งแวดล้อมและเหมาะสมกับสภาพปัญหาและวิถีชีวิตชุมชน มุ่งหวังให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพและจัดการกับตนเองและครอบครัวและชุมชนได้อย่างเหมาะสมตามสภาพปัญหา ลดปัจจัยเสี่ยงและอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนในหมู่ที่ ๗ มีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่องการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ๒. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้พื้นที่หมู่ที่ ๗ เป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค โดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ๓. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคของประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือดบ้านควนขี้แรด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนในหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด
๒. ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลประชาชน
๓. หมู่บ้านได้รับการยกย่องเชิดชูให้เป็นแบบอย่างสุขภาพดีตามวิถีชุมชน ๔. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ประชาชนในหมู่ที่ ๗ มีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่องการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ๒. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้พื้นที่หมู่ที่ ๗ เป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค โดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ๓. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคของประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ
ตัวชี้วัด : ๑.๑ การบริหารจัดการพัฒนาหมู่บ้าน โดยประเมินในประเด็น : ๑.๑.๑ มีข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้าน ๑.๑.๒ มีผู้รับผิดชอบ/คณะทำงาน ๑.๑.๓ มีแผนการพัฒนาที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ๑.๒ การจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการกินผัก ผลไม้สด โดยประเมินในประเด็น :๑.๒.๑ ครัวเรือนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดปัจจัยเอื้อ (สถานที่ออกกำลังกาย / แหล่งปลูกผัก / ศูนย์การเรียนรู้) ๑.๒.๒ แกนนำชุมชน/ จิตอาสาลดโรคฯ มีจัดกิจกรรมการส่งเสริมการออกกำลังกายและการกินผัก ผลไม้ ลดอาหารไขมัน และการจัดปัจจัยเอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯ (เผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อ / รณรงค์สร้างกระแส / สาธิตเมนูอาหารสุขภาพ ฯลฯ) ๑.๒.๓ ชมรมสร้างสุขภาพ / กลุ่มมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชน ๑.๒.๔ มีผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของตัวแทนของหลังคาเรือนเป้าหมายจำนวน ๘๐ หลังคาเรือน ๑.๓ ผลการพัฒนาหมู่บ้าน โดยประเมินผลที่เกิดขึ้นหลังจากจัดกิจกรรม ในประเด็น : ๑.๓.๑ มีสถานที่ / ลานกีฬาสำหรับออกกำลังกายในชุมชน ๑.๓.๒ มีแหล่งปลูกผักปลอดสารพิษรวมในหมู่บ้าน ๑.๓.๓ มีสถานที่ในการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของหมู่บ้าน (ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนในหมู่ที่ ๗ มีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่องการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด และลดอาหารไขมัน ๒. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้พื้นที่หมู่ที่ ๗ เป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค โดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด และลดอาหารไขมัน  ๓. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคของประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลดโรคฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือดบ้านควนขี้แรด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด บ้านควนขี้แรด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมบัติ เกื้อสุทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด