กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการ ดูแลสุขภาพตนเองป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ

ชื่อโครงการ โครงการ ดูแลสุขภาพตนเองป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ดูแลสุขภาพตนเองป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ดูแลสุขภาพตนเองป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ดูแลสุขภาพตนเองป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,850.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น“ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก
ข้อมูลสถิติโรคไม่ติดต่อของจังหวัดสตูล พบอัตราผู้ป่วยในด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๖๒ เป็น๔๙๓.๙๘,๕๕๗.๕๑,๕๙๖.๐๐,๕๖๕.๙๖, ๗๐๒.๐๗,และ๖๙๔.๒๐ ตามลำดับ (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข,๒๕๕๕)จากสถิติพบว่าอัตราป่วยของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นและจากการให้บริการในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือพบว่าอัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ปีงบประมาณ๒๕๕๕-๒๕๖๑ ร้อยละ๔๘.๕๗, ๔๐.๐๐,๓๔.๐๙,๓๐.๙๕,๒๒.๕๐,๑๘.๕๒ และ ๑๐,๓๔ ตามลำดับ จากสถิติพบว่าผู้ป่วยมีความสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ลดลง และอัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปีงบประมาณ๒๕๕๕-๒๕๖๑ ร้อยละ, ๔๙.๐๙,๔๕.๕๓,๔๘.๐๙, ๖๓.๕๖,๔๑.๔๖และ๔๔.๗๑ ตามลำดับ จากสถิติพบว่าผู้ป่วยมีความสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ลดลง ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มต้นเป็นโรค ในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและการควบคุมระดับความดันโลหิตสูง ร่วมกับการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ แก่ผู้ป่วยถือเป็นสิ่งที่สำคัญ ซึ่งครอบครัวและชุมชนจำเป็นต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล ร่วมรับรู้ในการแก้ไขปัญหาร่วมกันในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ทำให้ผู้ป่วยเกิดความตระหนักในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันกลุ่มป่วยให้มีสุขภาพที่ดี ไม่มีโรคแทรกซ้อนซึ่งจะทำให้สูญเสียชีวิตได้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง มากกว่าร้อยละ ๘๐
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
  4. ข้อที่ 4เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. กิจกรรมเสริมสร้างพลังอำนาจกิจกรรมให้ความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงป้องกันภาวะแทรกซ้อน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ร้อยละ ๘๐ ผู้ป่วย /ผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรัง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ๓. มีแนวทางพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑. กิจกรรมเสริมสร้างพลังอำนาจกิจกรรมให้ความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงป้องกันภาวะแทรกซ้อน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคเรื้อรัง

วันที่ 17 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการจัดทำโครงการ และรูปแบบการจัดกิจกรรม   ๒. เสนอแผนงาน/โครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่าเรือ เพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๓. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก     - ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพแก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ โดยแยกรายกลุ่ม ๒ กลุ่ม                คือ ป.๑-๔ และ ป.๕-๖ ทดสอบความรู้เรื่องทันตสุขภาพก่อนการอบรม (ป.๕-๖) -  ความสำคัญของสุขภาพช่องปาก   - สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของโรคในช่องปากและการป้องกัน
      * โรคฟันผุ
      * โรคเหงือกอักเสบ   - การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก
      * การเลือกซื้อแปรงสีฟัน ยาสีฟัน
      * การแปรงฟันที่ถูกวิธี
- ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก โรคในช่องปาก  การเลือกซื้อแปรงสีฟัน ยาสีฟัน และการ แปรงฟันที่ถูกวิธี
- อาหารที่มีประโยชน์และอาหารที่มีโทษต่อฟัน โดยการจำแนกตามกลุ่มสีไฟจราจร (เขียว เหลือง แดง) **ทดสอบความรู้เรื่องทันตสุขภาพ หลังการอบรม (ป.๕-๖) ** - การฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพช่องปาก โดยใช้สีย้อมฟันในการตรวจเช็ค       * การย้อมสีฟันและการแปรงฟัน
      * การตรวจช่องปากด้วยตนเอง 
  - การตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากรและบันทึกค่า Plaque Index ในแบบฟอร์มบันทึกการตรวจแผ่นคราบจุลินทรีย์   - สรุปผลประสิทธิภาพการแปรงฟัน ๔. รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคในช่องปากเพิ่มขึ้น
๒ นักเรียนสามารถเลือกซื้อแปรงสีฟัน ยาสีฟันที่เหมาะสมได้อย่างถูกต้อง ๓. นักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี และค่า Plaqe Index ลดลง ๔. นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโทษต่อฟันได้ ๔. นักเรียนสามารถตรวจช่องปากด้วยตนเองได้

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง มากกว่าร้อยละ ๘๐
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ผู้ป่วย /ผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรัง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
0.00 70.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๔๐ ของผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
0.00 70.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
0.00 70.00

 

4 ข้อที่ 4เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของการลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง มากกว่าร้อยละ ๘๐ (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี (4) ข้อที่ 4เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรมเสริมสร้างพลังอำนาจกิจกรรมให้ความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงป้องกันภาวะแทรกซ้อน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ดูแลสุขภาพตนเองป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด