กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ปี 2560 ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางญาณิศาน้อยสร้าง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8405-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8405-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและโรคติดต่อจากสาเหตุอื่นๆนั้นนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศและจากภาวะโรคร้อนอากาศแปรปรวนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่และโรคติดต่ออื่นๆ เพื่อเป็นการดูแลผู้ป่วยและเฝ้าระวังโรคติดต่อที่สำคัญแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริม -สุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อม ครบถ้วนของการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรคและส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ ต่อไป จากรายงานสถานการณ์โรคของศูนย์ระบาดวิทยาจังหวัดสงขลาปี2559( 1 มกราคม – 4 ตุลาคม ) พบจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รวม 3กลุ่มโรค ( DHF, DSS, DF)มีจำนวน 2,402 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร เท่ากับ170.85 พบเสียชีวิต 5ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ0.21และสถานการณ์ของอำเภอหาดใหญ่พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 784 รายคิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ 187.30 จากรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ ปี2554– 2558พบมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน2,6 , 53,32และ 12 รายตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนแสนประชากรเท่ากับ 129.82, 83.26 ,111.06,953.58, 240.16 และตามลำดับและจากรายงานสถานการณ์โรคปี 2559พบมีผู้ป่วยจำนวน6ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนเท่ากับ 76.73 ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็นอัตราป่วยที่สูงและเกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้(เกณฑ์กำหนดไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร) เมื่อวิเคราะห์ถึงสถานการณ์ของการเกิดโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่นๆแล้วพบว่าเกิดจากสภาวะแวดล้อมของชุมชน ซึ่งเป็นปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรค
ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคต่างๆในพื้นที่รับผิดชอบทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคปี2559ขึ้น โดยจัดให้มีการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชนเน้นให้มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและกำจัดยุงตัวแก่ เพื่อดำเนินการควบคุมการระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องและเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ โดยอาศัยวิธีการควบคุมทั้งทางกายภาพเคมีและชีวภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในชุมชนและโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้แกนนำชุมชนอสม. ภาคีเครือข่ายและประชาชน มีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนและในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,452
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนและภาคีเครือข่าย ร่วมป้องกันและควบคุมโรตคิดต่อที่สำคัญอย่างสมำ่เสมอและต่อเนื่อง อัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1 จัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชน จำนวน 4 ครั้ง 2.ให้ความรู้แก่ผู้นำ อสม.และประชาชน 3.ให้ความรู้แก่นักเรียน จำนวน 3 โรงเรียน 4.อสม.สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 6 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 ครั้ง 5.พ่นหมอกควันแบบครอบคลุมพื้นที่ จำนวน 6 ครั้ง 6 หมู่บ้าน (ในชุมชน ,โรงเรียน, วัด และ ศพด.)

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในชุมชนและโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมอบรมให้ความรู้ จำนวน 6 ครั้ง

     

    2 เพื่อให้แกนนำชุมชนอสม. ภาคีเครือข่ายและประชาชน มีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนและในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมรณรงค์ในชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5452
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,452
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในชุมชนและโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้แกนนำชุมชนอสม. ภาคีเครือข่ายและประชาชน มีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนและในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8405-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางญาณิศาน้อยสร้าง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด