โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่รวมใจต้านภัยยาเสพติด
ชื่อโครงการ | โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่รวมใจต้านภัยยาเสพติด |
รหัสโครงการ | 60-L2974-2-17 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เครือข่ายญาลันนันบารู บ้านตุปะ หมู่ที่ 5 |
วันที่อนุมัติ | 28 มีนาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 11 เมษายน 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 45,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางซายเดาะมอน๊อง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.719,101.199place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสภาพปัญหาสังคมในปัจจุบันปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาเรื้อรังระดับประเทศที่มีมานานลักษณะความรุนแรงของปัญหาก็เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งต่างก็เอื้อให้ปัญหายาเสพติดในสังคมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง คือ เด็กเยาวชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด มีทัศนคติที่ผิดเกี่ยวกับยาเสพติด มีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตยอมรับการใช้ยาเสพติด ใช้ชีวิตและเวลาไปในทางที่ไม่ควรและไม่ถูกต้อง เด็กเยาวชนชุมชนบ้านตุปะก็เป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด เนื่องจากมีการระบาดของยาเสพติดอย่างแพร่หลายในชุมชน อีกทั้งในส่วนของการดำรงชีวิตของครอบครัวจนทำให้ขาดการดูแลลูกหลานอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้เด็กเยาวชนใช้เวลาว่างส่วนใหญ่อยู่กับเพื่อน ตั้งกลุ่มแก๊งออกเที่ยวเตร่ จนเกิดการชักจูงกันไปกระทำสิ่งที่ไม่เหมาะสม ส่งผลกระทบให้เกิดพฤติกรรมการใช้ยาเสพติด จึงอยากให้มีการจัดโครงการ“ค่ายเยาวชนรุ่นใหม่รวมใจ ต้านภัยยาเสพติด”ได้มีสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กเยาวชนความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด ทำให้มีทักษะที่ดีในการใช้ชีวิต และมีทักษะในการปฏิเสธยาเสพติดส่งผลให้เด็กเยาวชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด เกิดเป็นชุมชนที่มีความขึ้น เพื่อเข้มแข็งต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
|
||
2 | เพื่อให้เด็กเยาวชนและผู้ปกครองเกิดพื้นที่สร้างสรรค์ในการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน
|
||
3 | เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดร่วมกันสู่ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ประชุมหารือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
- เขียนโครงการเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
- ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ดำเนินกิจกรรมตามที่กำหนด
- สรุปผลการดำเนินงาน
1.เด็กเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด 2.เกิดเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ในการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันระหว่างเด็กเยาวชนและผู้ปกครองนำไปสู่ครอบครัวที่อบอุ่น 3.เยาวชนเกิดการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ลดการมั่วสุมยาเสพติดในชุมชน 4.เกิดการวางแผนกติกาชุมชนร่วมกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2560 12:17 น.