กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว


“ โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 ”

ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวินัย จันทมณี ผอ.รพ.สต.บ้านบ่ออิฐ

ชื่อโครงการ โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 09/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 09/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมยุคโลกาภิวัตน์ การเข้ามาซึ่งวัฒนธรรมตะวันตก สื่อเทคโนโลยีทันสมัยกับวัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะในการเผชิญสังคมยุคใหม่ ส่งผลกระทบถึงปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม ซึ่งสังคมกำลังให้ความสนใจ การแก้ปัญหาต้องอาศัยความร่วมมือหลายภาคส่วน เพื่อดำเนินงานและการแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม จากสถิติประเทศไทยติดอันดับ ๑ในทวีปเอเชียและอันดับ๓ ระดับโลกที่มีเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์มากที่สุดส่งผลต่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ซึ่งมีผลกระทบตามมาในระยะยาวในเรื่องพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ มากมาย จากการประเมินผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กพบว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่ออิฐมีอัตราการคลอดบุตร น้อยกว่า ๒o ปี มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จากร้อยละ ๑๑.๕ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เป็นร้อยละ ๑๔.๗ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ซึ่งเกณฑ์กำหนดไม่เกินร้อยละ ๑o ซึ่งปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ส่งผลทางด้านสังคมเป็นอย่างมาก มารดาวัยรุ่นมักไม่แต่งงาน มีปัญหาการหย่าร้างสูงไม่มีอาชีพ มีโอกาสทำผิดกฎหมายสูงทำแท้ง ทอดทิ้ง ไม่ได้รับการดูแลเป็นปัญหาสังคมเยาวชนหยุดเรียน ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ผลต่ออารมณ์ จิตใจ สังคม เครียด ซึมเศร้า กังวลสร้างบาดแผลอันเจ็บปวดแห่งความทรงจำไม่รู้ลืม ไม่ได้ศึกษาต่อหรือจบช้า หางานลำบากเนื่องจากขาดคุณวุฒิ ขาดทักษะในการเป็นผู้ปกครอง และการเลี้ยงดูบุตร พฤติกรรมเสี่ยงยาเสพติด รวมทั้งโรคทางเพศสัมพันธ์ซึ่งมักมีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกที่อยู่ในครรภ์ตลอดจนถึงระยะหลังคลอด ภาวะเสี่ยงของมารดาหรือเกิดในหญิงตั้งครรภ์จะมีผลกระทบเป็นอันตรายต่อเด็กที่อยู่ในครรภ์ด้วย เช่นโรคติดเชื้อ โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม ปัญหาการขาดสารอาหารโรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความผิดปกติของเม็ดเลือด ภาวะครรภ์เป็นพิษ ภาวะการณ์คลอดติดขัด การดูแลสุขภาพหญิงมีครรภ์ และสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย ๖ เดือน การมีส่วนร่วมของชุมชนโดยมีภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่น ๆโดยการรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนสนับสนุนให้ครอบครัวมีความอบอุ่นจากการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจโดยมุ่งเน้นให้ทุกคนมีความตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความมั่นคงเพื่อสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี โดยเริ่มต้นจากครอบครัวให้ลูกได้ดื่มนมแม่ เพราะน้ำนมแม่ เป็นอาหารที่ดีที่สุด สำหรับทารกแรกเกิด ไม่มีอาหารชนิดใดที่เหมาะสมกับทารกเท่ากับน้ำนมแม่เป็นสิ่งที่ธรรมชาติกำหนดมา ให้ใช้เลี้ยงดูบุตร โดยมีคุณค่าสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของทารกการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในขวบปีแรกจะช่วยให้เด็กมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา ร่วมกับการพัฒนาทางด้านอารมณ์เด็กจะมี
ความสุข มั่นใจในสิ่งแวดล้อม นำไปสู่ความรู้สึกไว้วางใจในบุคคลซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัยต่อไป จากการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการตำบลนมแม่ ที่ผ่านมาได้เน้นกิจกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว โดยคาดหวังว่า เด็กที่เลี้ยงดูด้วยความรัก ความอบอุ่น จะหล่อหลอมให้เด็กเติบโตขึ้น แข็งแรง ฉลาด อารมณ์ดี จิตใจดีมีความสุข และเพื่อแก้ปัญหาเชิงป้องกันและสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกของโครงการเพื่อมีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นผ่านตามเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10 รวมทั้งปัญหาพฤติกรรมไม่เหมาะสมโดยใช้การวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้เทคนิค AIC (Appreciahon Influeuce Cantrol) มุ่งเน้นการพัฒนาแบบพร้อมกันทุกด้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน ๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและภาวะแทรกซ้อน ๓. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ๔. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม ๕. เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ที่ส่งผงต่อการดำเนินชีวิตของวัยรุ่น ๖. สำรวจทัศนะ และการให้คุณค่าเรื่องเพศ วิถีของตนเอง รวมทั้งรับฟังมุมมองที่แตกต่าง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 120
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดการวิเคราะห์ตนเองและสิ่งแวดล้อมเห็นช่องว่างทางความคิดและวิถีชีวิตระหว่างคนต่างรุ่นและผลที่ตามมา ๒. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดทัศนะที่เปิดกว้างในเรื่องเพศวิถีและรับฟังมากขึ้นจากการได้มุมมองที่แตกต่างหลากหลาย หญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ๖ เดือน
    ๓. เกิดบุคคลต้นแบบ”การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อยเดือน”
    ๔. มารดามีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง และทารกหลังคลอด มีน้ำหนักมากว่า ๒,๕๐๐ กรัม ๕. อสม.จิตอาสาแม่และเด็กมีความรู้ความสามรถให้คำแนะนำ ดูแลหญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอดในเขตพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน ๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและภาวะแทรกซ้อน ๓. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ๔. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม ๕. เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ที่ส่งผงต่อการดำเนินชีวิตของวัยรุ่น ๖. สำรวจทัศนะ และการให้คุณค่าเรื่องเพศ วิถีของตนเอง รวมทั้งรับฟังมุมมองที่แตกต่าง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 120
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน ๒. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอดและภาวะแทรกซ้อน ๓. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐
    ๔. เพื่อเฝ้าระวัง / ติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้มีค่าตามเกณฑ์มาตรฐานและเด็กที่เกิดมามี น้ำหนัก ≥ ๒๕๐๐กรัม ๕. เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ที่ส่งผงต่อการดำเนินชีวิตของวัยรุ่น ๖. สำรวจทัศนะ และการให้คุณค่าเรื่องเพศ วิถีของตนเอง รวมทั้งรับฟังมุมมองที่แตกต่าง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตำบลนมแม่ ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 09/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวินัย จันทมณี ผอ.รพ.สต.บ้านบ่ออิฐ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด