กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ หนูน้อยสุขภาพดีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน ปี 2562 ”

อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอุไร บวดดีน

ชื่อโครงการ หนูน้อยสุขภาพดีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3333-03-62 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม 2562 ถึง 16 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"หนูน้อยสุขภาพดีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน ปี 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หนูน้อยสุขภาพดีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " หนูน้อยสุขภาพดีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3333-03-62 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กรกฎาคม 2562 - 16 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,885.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยในปัจจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับเด็กตามเกณฑ์ตั้งแต่ 2-5 ขวบ ซึ่งเป็นสถานที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเด็กคนใดคนหนึ่งป่วยและทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน ทำให้เชื้อโรคแพร่กระจายไปสู่เด็กคนอื่นๆได้ง่าย เช่น โรคหวัด โรคมือเท้าปาก โรคตาแดง โรคอุจจาระร่วง อีสุกอีใส เป็นต้นโรคมือเท้าปากอัตราการเกิดโรคมักจะพบบ่อยในช่วงฤดูฝน และในรอบปีที่ผ่านมา เด็กเป็นโรคมือเท้าปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียนมี 4 คน คิดเป็นร้อยละ 22.23 จึงมีความจำเป็นต้องป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด โดยการให้ความรู้ผู้ปกครองและด็กในการรักษาความสะอากและสุขอนามัยของตนเอง ประกอบกับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน เกิดฟันผุในฟันน้ำนม ส่งผลต่อพัฒนาการสุขภาพโดยรวมของเด็ก และจากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน จำนวน 18 คน พบเด็กมีฟันผุ 12 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ซึ่งสาเหุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารที่มีรสหวานอยู่เสมอ รวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแล ขาดความรู้ความเข้าใจและการเอาใจใส่ดูแลช่องปาก ฟันของเด็ก จึงทำให้เกิดฟันผุในฟันน้ำนมตามมา การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพโดยตรงของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่างทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการอสดงออก การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้ เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อแก่ผู้ปกครอง การใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกต้อง การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้นและสร้างความตระหนักให้เด็ก และผ้ปกครอง ได้มีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธี
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
  3. เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้เกี่ยวกับการล้างมือได้ถูกวิธี
  4. เพื่อลดการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์ฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง ครูและเด็ก เรื่องการรักษาสุขภาพช่องปากและสาธิตการแปรงฟัน
  2. กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง ครูและเด็ก เรื่องการล้างมือและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 24
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครู ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้เรื่องการแปรงฟันและการดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี 2.ครู ผู้ปกครองและเด็ก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 3.ครู ผู้ปกครองและเด็กล้างมือได้ถูกวิธี 4.ลดการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกระตุ้นและสร้างความตระหนักให้เด็ก และผ้ปกครอง ได้มีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผูู้ปกครองมีความรู้และแปรงฟันได้ถูกวิธีเพิ่มขึ้นร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็ก เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
0.00

 

3 เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้เกี่ยวกับการล้างมือได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครอง และเด็กล้างมือได้ถูกวิธี เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

4 เพื่อลดการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์ฯ
ตัวชี้วัด : การระบาดของโรคติดต่อในศูนย์เด็กบ้านท่าเนียนลดลงร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 42
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 24
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นและสร้างความตระหนักให้เด็ก และผ้ปกครอง ได้มีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธี (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก (3) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้เกี่ยวกับการล้างมือได้ถูกวิธี (4) เพื่อลดการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์ฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง ครูและเด็ก เรื่องการรักษาสุขภาพช่องปากและสาธิตการแปรงฟัน (2) กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครอง ครูและเด็ก เรื่องการล้างมือและการป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หนูน้อยสุขภาพดีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าเนียน ปี 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3333-03-62

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไร บวดดีน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด