กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการมาตรการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียะ สาเมาะแม

ชื่อโครงการ โครงการมาตรการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L8411-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมาตรการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมาตรการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมาตรการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L8411-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2562 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 (แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 6 พ.ศ.2552) ส่วนที่ 3 อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550  มาตรา 12 (2)แนวทางและวิธีการในการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าและระยะยาวเมื่อเกิดสาธารณภัย รวมถึงการอพยพประชาชน หน่วยงานของรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การสงเคราะห์ผู้ประสบภัย การดูแลเกี่ยวกับการสาธารณสุข และการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการสื่อสารและการสาธารณูปโภค มาตรา 21 เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ใด ให้ผู้อำนวยการท้องถิ่นขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่นั้นมีหน้าที่เข้าดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเร็ว และแจ้งให้ผู้อำนวยการอำเภอที่รับผิดชอบในเขตพื้นที่นั้นและผู้อำนวยการจังหวัดทราบทันที         ในส่วนของ กระทรวงสาธารณสุขออกมาแถลงเรื่องนี้ ว่า การจมน้ำ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีทั่วโลกเสียชีวิต ปีละ 135,585 คน เฉลี่ยวันละ 372 คน ขณะที่ประเทศไทยพบผู้เสียชีวิตจากเหตุจมน้ำปีละเกือบ 4,000 คน ในจำนวนนี้เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 1,400 คน เฉลี่ยวันละเกือบ 4 คน ซึ่งมากเป็นอันดับ 1 เมื่อเทียบกับการเสียชีวิตของเด็กจากทุกสาเหตุทั้งโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ โดยช่วงเดือนเมษายนเป็นช่วงที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุดจำนวน 182คน รองลงมา คือ มีนาคม 148 คน และพฤษภาคม 141 คน กลุ่มเด็กอายุ 1-9 ปี เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงสุด สาเหตุที่เด็กไทยจมน้ำเสียชีวิตกันมาก เนื่องจากเด็กส่วนใหญ่ยังขาดทักษะว่ายน้ำ โดยผลการสำรวจเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปีทั่วประเทศ ที่มีประมาณ 13 ล้านคน พบว่า ว่ายน้ำเป็นเพียงร้อยละ 16 หรือเพียง 2 ล้านคนเท่านั้น ซึ่งถือว่าเด็กไทยขาดทักษะด้านนี้อย่างมาก และการสอนว่ายน้ำในขณะนี้ ยังขาดในเรื่องของทักษะความปลอดภัยทางน้ำทักษะการเอาชีวิตรอด การป้องกันอุบัติภัยทางน้ำและการช่วยชีวิตคนจมน้ำ นอกจากนี้ในช่วงเกิดมหาอุทกภัยในปี 2554 ในหลายจังหวัดพบว่าการเสียชีวิตจากการจมน้ำสูงถึงร้อยละ 80 ซึ่งเป็นเรื่องที่สามารถป้องกันได้
        ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีน้ำล้อมรอบ เป็นประเทศแห่งการเกษตร และที่สำคัญ เป็นประเทศที่ประสบปัญหาน้ำท่วมอยู่ทุกปี อย่างเหตุการณ์ที่ได้เกิดมหาอุทกภัย น้ำท่วมหลายจังหวัดรวมถึงกรุงเทพมหานคร ซึ่งต้องถือว่าเป็นการสะท้อนถึงปัญหาเรื่องเด็กขาดทักษะชีวิตเรื่องความปลอดภัยในน้ำอย่าง

ชัดเจน ครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิตกว่า 800 ศพ โดยร้อยละ 80 เสียชีวิตจากการจมน้ำ และแน่นอนในจำนวนนี้มีผู้ว่ายน้ำไม่เป็นจำนวนมาก
    ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ  จึงได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจและวิธีในการช่วยเหลืเด็กจมน้ำ เพื่อเตรียมความพร้อมรับอุบัติเหตุ (คนจมน้ำ) ที่อาจเกิดขึ้น และยังสามารถเกิดการเรียนรู้ช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่นได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเกิดความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนทั่วไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริม ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือคนเด็กน้ำ เบื้องต้น
  2. เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนในพื้นที่
  3. เพื่อสร้างทักษะ และวิธีการที่ถูกต้องในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ
  4. เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการจมน้ำ ลดการเกิดอุบัติเหตุ (การจมน้ำ) ได้รับความ ช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว จึงเกิดความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนทั่วไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนสามารถเรียนรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ได้
  2. ประชาชนทั่วไป ได้รับความปลอดภัย จากการจมน้ำ
  3. ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่น จากการจมน้ำด้วยวิธีที่ถูกต้อง
  4. ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ การจมน้ำ และความสูญเสียต่อชีวิตของประชาชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

วันที่ 28 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ 2. ฝึกทักษะและวิธีการปฏิบัติในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำอย่างถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชุมชนสามารถเรียนรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ได้ 2. ประชาชนทั่วไป ได้รับความปลอดภัย จากการจมน้ำ 3. ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่น จากการจมน้ำด้วยวิธีที่ถูกต้อง 4. ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ การจมน้ำ และความสูญเสียต่อชีวิตของประชาชน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริม ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือคนเด็กน้ำ เบื้องต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสร้างทักษะ และวิธีการที่ถูกต้องในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการจมน้ำ ลดการเกิดอุบัติเหตุ (การจมน้ำ) ได้รับความ ช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว จึงเกิดความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนทั่วไป
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริม ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือคนเด็กน้ำ เบื้องต้น (2) เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนในพื้นที่ (3) เพื่อสร้างทักษะ และวิธีการที่ถูกต้องในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ (4) เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการจมน้ำ ลดการเกิดอุบัติเหตุ (การจมน้ำ) ได้รับความ ช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว จึงเกิดความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนทั่วไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมาตรการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L8411-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารียะ สาเมาะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด