กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว และออกกำลังกาย ”

ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแอแว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว และออกกำลังกาย

ที่อยู่ ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2523-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว และออกกำลังกาย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว และออกกำลังกาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว และออกกำลังกาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเอราวัณ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2523-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เอราวัณ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเล็ก เป็นวัยที่มีความซุกซน เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา สติปัญญาและความคิดจะมีความเป็นอิสระ แปรเปลี่ยนตามสิ่งแวดล้อมที่พบเห็นใกล้ตัว ชอบลอกเลียนแบบตามความนึกคิดของตน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มีพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญาและลักษณะนิสัยดังนั้น ครูผู้ดูแลเด็กซึ่งเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กเล็ก และมีอิทธิพลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็กมากที่สุด โดยจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ รู้จักรับผิดชอบ รักเด็ก อุปนิสัยอ่อนโยนจิตใจโอบอ้อมอารี มีความยุติธรรม มีลักษณะเป็นผู้นำ เพื่อจะเป็นผู้ที่ให้การดูแลเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีของเด็ก ซึ่งจะเป็นการวางรากฐานความคิด สติปัญญา อารมณ์ สังคม ลักษณะนิสัย เสริมสร้างบุคลิกที่ดีให้กับเด็ก ซึ่งเปรียบเสมือนการวางรากฐานของประเทศในช่วง ๕ ปี แรกของเด็กเล็ก เป็นระยะที่สำคัญที่สุด เนื่องจากสมองของเด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างรวดเร็ว ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือ ครูผู้ดูแลเด็ก ต้องตระหนักถึงความสำคัญของพัฒนาการแห่งวัย หรือการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญาและลักษณะนิสัย โดยการส่งเสริมพัฒนาการแห่งวัยให้เหมาะสมตามวุฒิภาวะหรือความพร้อมของเด็กเล็กแต่ละคนตามช่วงอายุ โดยอาศัยความร่วมมือจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือครูผู้ดูแลเด็กที่เกี่ยวข้องกับเด็กเล็กโดยการจัดกิจกรรม หรือจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่นในกระบวนการต่าง ๆ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่เด็กเล็กผ่าน ๖ กิจกรรมหลัก ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหว กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ง เกมการศึกษา กิจกรรมเสรี และกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยการส่งเสริมการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย ส่งเสริมให้มีสุขภาพแข็งแรง ส่งเสริมและให้ความรู้ เพิ่มประสบการณ์และทักษะการเรียนรู้แก่เด็กเล็ก ปลูกฝังการมีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย มีระเบียบวินัย สามัคคี อดทน เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างครูผู้ดูแลเด็กเด็ก และผู้ปกครอง โดยสามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้อย่างดี รวมทั้งเพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้ฝึกปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรง เพื่อพัฒนาจุดเชื่อมต่อของใยประสาท ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ผ่อนคลายมีอิสระ ทางความคิด สามารถพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่รวมถึงการพัฒนาการเชื่อมโยงพัฒนาการของอวัยวะหลายส่วน อันจะนำไปสู่การทำให้เกิดจุดเชื่อมต่อของใยประสาทที่สามารถพัฒนาตามพัฒนาการแห่งวัยทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ต่อไปศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแอแวร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำมัสยิดมาดาริยิตตาอาลม ได้เล็งเห็นความสำคัญในการเสริมสร้างพัฒนาการเด็ก การสร้างเสริมสุขภาพและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูผู้ดูแลเด็ก เด็ก และผู้ปกครอง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว และออกกำลังกายขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและสามรถนำความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมพัฒฯการเด็กให้สมวัย
    2. เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย ออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬา เพื่อสร้างสุขภาพ พลานามัย ที่แข็งแรงสมบูรณ์ มีพัฒนาการสมวัย
    3. เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ รวมทั้งความสัมพันธ์ของประสาทสัมผัสทั้ง ๕
    4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความสัมพันธ์ที่ดี และมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างคณูผู้ดูแลเด็ก นักเรียน และผู้ปกครอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
    ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า(คน)
    10.00 5.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว และออกกำลังกาย จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 62-L2523-03-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแอแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด