กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
( นางรัชฎา รักสุวชน) ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนมิตรสัมพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-02-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-02-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และ สิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะมูลฝอย ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นชุมชนจัดเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม แม้ว่าขยะจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตราย เมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือการเกษตรกรรม แต่ถ้ามีปริมาณมากก็ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมได้ โดยเฉพาะขยะมูลฝอยจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือน ขยะที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (recycle) ขยะประเภทวัสดุเหลือใช้ ขยะที่อาจเป็นอันตรายอันเนื่องมาจากสารพิษ เป็นต้น ซึ่งการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยในพื้นที่และกลไกเพื่อการคัดแยกขยะ แปรรูปขยะเป็นพลังงานด้วยนวัตกรรมที่เหมาะสมกับพื้นที่ และเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคต่างๆ ชุมชนมิตรสัมพันธ์จึงได้จัดโครงการ ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อมขึ้น การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม จึงจัดให้มีระบบการจัดการขยะในชุมชนภายใต้แนวคิด “ประชารัฐ”เพื่อให้ประชาชนและชุมชนส่งเสริมการดำเนินการตามหลัก 3 Rs ได้แก่ การลดการใช้(Reduce) การใช้ซ้ำ(Reuse)และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและชุมชน ได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็น ในการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะและเป็นการลดปริมาณขยะที่มีประสิทธิภาพ และป้องกันปัญหาการเกิดมลพิษ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือนและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอย โดยใช้ หลักการ ๓Rsคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและ นำกลับมาใช้ใหม่
  2. ๒. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชน ในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม
  3. ๓. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ชุมชนมีจิตสำนึกในการใช้หลักการ ๓Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
    2.ลดพฤติกรรมเสี่ยงอันเนื่องมาจากการกำกัดขยะมูลฝอย 3.สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่
    4.ครัวเรือนมีการควบคุมและลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในครัวเรือน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ประชุมสมาชิกแกนนำทั้ง 6 ชุมชน
    2. จัดอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ และการจัดทำขยะอินทรีย์
    3. การจัดตั้งธนาคารขยะในชุมชน
    4. กิจกรรมขายขยะในชุมชน โดยธนาคารขยะ
    5. สาธิตย่อยการทำขยะอินทรีย์ในชุมชน 6 ชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอย โดยใช้ หลักการ ๓Rsคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและ นำกลับมาใช้ใหม่
    ตัวชี้วัด : ๑.ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยร้อยละ70
    70.00
    1. ลดลง
    2 ๒. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชน ในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ๒.ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ร้อยละ70
    70.00

    2.จัดตั้งธนาคารขยะ 6 ชุมชน

    3 ๓. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอย โดยใช้ หลักการ ๓Rsคือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและ นำกลับมาใช้ใหม่ (2) ๒. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยสร้างจิตสำนึกแก่ประชาชน ในความปลอดภัยด้านสุขภาพได้ถูกต้องและเหมาะสม (3) ๓. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-02-9

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ( นางรัชฎา รักสุวชน) ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนมิตรสัมพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด