กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการการช่วยฟื้นคืนชีพ ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุธิดา วิทยาชาญสกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการการช่วยฟื้นคืนชีพ

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 - 1 – 05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการช่วยฟื้นคืนชีพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการช่วยฟื้นคืนชีพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการช่วยฟื้นคืนชีพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 - 1 – 05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนนำส่งสถานพยาบาลเป็นระบบหนึ่งที่มีความสำคัญ เพราะช่วงก่อนนำส่งโรงพยาบาลเป็น “Golden hour” ของการรักษาพยาบาลที่จะทำให้ผู้ที่เจ็บป่วยฉุกเฉินรอดชีวิตได้มากที่สุด ภาวะหัวใจหยุดเต้นและ/หรือหยุดเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่มีความสำคัญ ซึ่งปัจจัยเรื่องเวลามีความสำคัญมากการรักษาที่ล่าช้าจะทำให้โอกาสที่ผู้ป่วยรอดชีวิตและกลับมาดำเนินชีวิตได้ตามปกติจะลดลงเรื่อยๆ หรือไม่มีเลย ซึ่งความรู้หรือข้อมูลเกี่ยวกับการช่วยฟื้นคืนชีพมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยอาศัยข้อมูลจากการศึกษาหรือรวบรวมได้จากข้อบกพร่องในอดีตมาปรับปรุง ทำให้มีข้อควรปฏิบัติใหม่ออกมาทุก 3 – 5 ปี ผู้ป่วยโดยทั่วไป จะแบ่งการช่วยฟื้นคืนชีพออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ การช่วยขั้นพื้นฐาน (basic life support : BLS) และการช่วยชั้นสูง (advance cardiac lifesupport : ACLS) ปัจจัยที่มีผลต่อการรอดชีวิตของผู้ป่วย ได้แก่ ระยะเวลาตั้งแต่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น จนถึงเมื่อได้รับการช่วยเหลือ การปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน การกระตุกด้วยไฟฟ้า และการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง รวมเรียกขั้นตอนทั้งหมดว่าห่วงโซ่ของการมีชีวิตรอด (chain of survival) จากการศึกษาในประเทศไทย ยังไม่พบข้อมูลสถิติการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกะทันหันนอกโรงพยาบาลที่ชัดเจนแต่ประมาณการได้ว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจากสถิติการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตด้วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจเฉียบพลันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2558) จากข้อมูลของโรงพยาบาลศิริราช พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ มีการตอบสนองต่อการช่วยเหลือ โดยเฉลี่ยร้อยละ 61.7 มีโอกาสรอดชีวิตจนออกจาก รพ. เฉลี่ยร้อยละ 6.91 และข้อมูลของ รพ. สงขลานครินทร์ พบอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยอยู่ที่ประมาณร้อยละ 1-10 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระบบและความพร้อมของการปฏิบัติการช่วยชีวิต และข้อมูลจากคลังข้อมูลสุขภาพ (Health Date Center : HDC)สำนักการสาธารณสุขจังหวัดยะลา ปี 2561 มีเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี จมน้ำทั้งสิ้น 8 คน เสียชีวิต 1 รายคิดเป็น 0.85 ต่อแสนประชากร การได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้อง มีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บอย่างรวดเร็วทำให้มีโอกาสรอดชีวิตและกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ งานรักษาพยาบาล กลุ่มงานบริการการแพทย์และสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา ได้จัดทำโครงการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ มีทักษะ ได้รับการฝึกฝนประสบการณ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว ปลอดภัย และได้นำความรู้จากการอบรมไปทำการช่วยเหลือผู้อื่นอย่างถูกวิธีได้ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการและสูญเสียชีวิตให้น้อยลง ตลอดจนสามารถแนะนำและถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และศักยภาพของผู้เข้าอบรมในการช่วยเหลือ/ดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤติ
  2. 2. เพื่อฝึกทักษะและความพร้อมในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพของผู้เข้าอบรมเมื่อเกิดภาวะวิกฤต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพ โดยการให้ความรู้ และฝึกทักษะการปฏิบัติจริง กลุ่มเป้าหมาย ครูและนักเรียนชั้นมัธยมปลาย โรงเรียนเทศบาล 2 จำนวน 100 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพ โดยการให้ความรู้ และฝึกทักษะการปฏิบัติจริง กลุ่มเป้าหมาย ครูและนักเรียนชั้น มัธยมต้น โรงเรียนเทศบาล 5 จำนวน 100 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพที่ถูกต้อง
  2. ผู้เข้าอบรมสามารถช่วยฟื้นคืนชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อพบผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลือ
  3. ผู้เข้าอบรมสามารถให้คำแนะนำ หรือถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับใหม่แก่ผู้อื่นได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และศักยภาพของผู้เข้าอบรมในการช่วยเหลือ/ดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤติ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของผู้เข้าอบรม มีความรู้เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
0.00

 

2 2. เพื่อฝึกทักษะและความพร้อมในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพของผู้เข้าอบรมเมื่อเกิดภาวะวิกฤต
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 90 ของผู้เข้าอบรมผ่านทักษะการฝึกภาคปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และศักยภาพของผู้เข้าอบรมในการช่วยเหลือ/ดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤติ (2) 2. เพื่อฝึกทักษะและความพร้อมในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพของผู้เข้าอบรมเมื่อเกิดภาวะวิกฤต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพ โดยการให้ความรู้  และฝึกทักษะการปฏิบัติจริง กลุ่มเป้าหมาย  ครูและนักเรียนชั้นมัธยมปลาย โรงเรียนเทศบาล 2 จำนวน 100 คน (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพ โดยการให้ความรู้ และฝึกทักษะการปฏิบัติจริง กลุ่มเป้าหมาย ครูและนักเรียนชั้น  มัธยมต้น โรงเรียนเทศบาล 5 จำนวน 100 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการช่วยฟื้นคืนชีพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 - 1 – 05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุธิดา วิทยาชาญสกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด